Тёмный
ชวลิต วิกุลชัยกิจ
ชวลิต วิกุลชัยกิจ
ชวลิต วิกุลชัยกิจ
Подписаться
เที่ยวทั่วไทย
Комментарии
@แอ๊ดเกิดชัง
@แอ๊ดเกิดชัง 14 дней назад
เพลี้ยกระโดด ปราบง่ายมากมันชอบเล่นไฟ ติดไฟโซล่าเซลล์พอมันเล่นไฟฉีดสารเคมีชนิดร้ายแรงใส่ตัวมันเลย ตายแน่นอน หรือมีวงปูนเลี้ยงปลาพอมันมาเล่นไฟเดี่ยวมันก็ตกน้ำทำหลังคาวงด้วยกลางวันแดดร้อนเดี่ยวปลาตายให้ทำทั่วๆ
@นายชิดชัยพูพวง-ห7ณ
ถ้าขับรถไปทางเป็นยังไงบ้างครับ
@มาลีขาเลาะ
@มาลีขาเลาะ Месяц назад
น่าอร่อยจ้า
@ทองมีเจริญกุล-ผ6อ
ทำให้เหมือนกันทุกอำเภอจังหวัดใหญ่หน่อย
@บุญรอดบุญเกิด-ฒ1ซ
ตอนนึ้จัดงานอยู่ที่ไหนบ้างใน กทม.
@thees8747
@thees8747 2 месяца назад
หนักเลย ขอให้ทุกคนปลอดภัยนะครับ ..
@VidioJalanan-hr6ll
@VidioJalanan-hr6ll 6 месяцев назад
Salam dari indonesia🙏🙏🙏
@chaise714
@chaise714 6 месяцев назад
สวัสดีคับ สาธุบุญด้วยคับผม+1
@wijitmon8737
@wijitmon8737 6 месяцев назад
สวยงามมากค่ะ
@_ayumu_6606
@_ayumu_6606 7 месяцев назад
14 กม. 10 ชม. อย่างที่เขาว่ากันจริงๆ
@อภินัทธ์รักต้นไม้
สุดโหดเลยครับ
@สิงห์คารกัมปนาทกึกก้อง
ทางแบบนี้สนุกครับ รถเดิมๆหรือยางไม่เกิน 32 ปั่นได้ ทางไม่ค่อยเสียด้วย...
@ทรายทะเล-ฟ9ร
@ทรายทะเล-ฟ9ร 11 месяцев назад
อยากไปงานมากค่ะ ปีนี้ต้องไปให้ได้
@ดินสอเกตแก้ว
👩🏻‍💻👨🏻‍💻📠⏸️ญช🦯
@ดินสอเกตแก้ว
ดินสอ
@ดินสอเกตแก้ว
หิรัญาญาเกตุแก้วจีฐ
@Chantawat2531
@Chantawat2531 2 года назад
ทราบหรือไม่ ? ธงไตรรงค์ ได้เผยแพร่สู่สายตาสากลเป็นครั้งแรกในสงครามโลก ครั้งที่ ๑ . ภายหลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงตัดสินพระราชหฤทัยประกาศกระแสพระบรมราชโองการ ว่าด้วยการสงครามซึ่งมีต่อประเทศเยอรมนี และออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๐ แล้ว ได้ทรงพระราชปรารภว่าการประกาศสงคราม และเข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรในครั้งนี้ นับว่าชาติไทยได้ก้าวขึ้นสู่ความเจริญถึงขั้นอันสำคัญยิ่ง ควรจะมีสิ่งที่เป็นอนุสรณ์ เพื่อเตือนใจให้ระลึกถึงวาระสำคัญนี้สืบไป . ด้วยเหตุนี้ จึงทรงพระราชดำริว่า ธงแถบริ้วขาวแดง ๕ ริ้ว ซึ่งเปลี่ยนมาจากธงช้าง ตามพระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติธง พระพุทธศักราช ๒๔๕๙ นั้น ยังมีลักษณะไม่สง่างามเพียงพอ สมควรเพิ่มแถบริ้วสีน้ำเงินแก่ (สีขาบ) อีกสีหนึ่ง ให้เป็น ๓ สีตามลักษณะธงชาติของประเทศในฝ่ายสัมพันธมิตร . เพื่อเป็นเครื่องหมายให้ปรากฎว่า ไทยได้เข้าร่วมสุขร่วมทุกข์ และเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับฝ่ายสัมพันธมิตร ในการ "ช่วยกันกระทำการปราบปรามความอสัตย์อธรรมในโลก ให้พินาศประลัยไป" อีกทั้งสีน้ำเงินแก่ (สีขาบ) ยังเป็นสีอันเป็นสิริแก่พระชนมวาร นับว่าเป็นสีเครื่องหมายเฉพาะพระองค์ จึงสมควรจะนำมาประกอบไว้ในธงชาติด้วยประการทั้งปวง . พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา "พระราชบัญญัติแก้ไขพระราชบัญญัติธง พระพุทธศักราช ๒๕๖๐" เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๐ และให้มีผลบังคับใช้ภายหลังวันที่ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ๓๐ วัน โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อธงชาติแบบใหม่ ตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ ว่า "ธงไตรรงค์" . ธงไตรรงค์ ได้ประเดิมโบกสะบัดเหนือยอดเสากระโดงเรือเอ็มไพร์ ซึ่งกองทหารอาสาของไทยโดยสารไปยังประเทศฝรั่งเศส เพื่อเข้าปฏิบัติการร่วมกับกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร และเมื่อสิ้นสุดสงครามโลก ครั้งที่ ๑ แล้ว ธงไตรรงค์ยังมีโอกาสโบกสะบัดอย่างสง่างาม ท่ามกลางธงชาติต่างๆ ในพิธีสวนสนามฉลองชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และกรุงบรัสเซลล์ ประเทศเบลเยียม . “ธงไตรรงค์” จึงเปรียบเสมือนสัญลักษณ์แห่งการนำประเทศไทยเข้าสู่ประชาคมโลกอย่างสง่าผ่าเผยเต็มภาคภูมิ ในฐานะแห่งความเป็นอารยะทัดเทียมนานาอารยประเทศ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากพระปรีชาญาณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงตัดสินพระราชหฤทัยนำกองทัพสยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลก ครั้งที่ ๑ กระทั่งประสบชัยชนะอย่างงดงาม และยังเป็นมูลเหตุของการใช้ธงไตรรงค์ซึ่งเป็นธงชาติไทยมาจนถึงปัจจุบัน