Тёмный
No video :(

การคำนวณขนาดเบรกเกอร์ ให้ถูกต้องตามมาตรฐาน 

วิศวะ 101
Подписаться 42 тыс.
Просмотров 23 тыс.
50% 1

การคำนวณขนาดเบรกเกอร์ ให้ถูกต้องตามมาตรฐาน
=====
สนับสนุนเราผ่านการ
ซื้อหนังสือ และคอร์สออนไลน์ทางเพจ
"อัพค่าตัวงานไฟฟ้า"
คลิก : widsawa101.com/
=====
การคำนวณขนาดเบรกเกอร์
.
การเลือกขนาดเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมและป้องกันระบบไฟฟ้าจากกระแสลัดวงจร (Short Circuit) และกระแสเกิน (Overload) ซึ่งอาจทำให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า หรืออาจเป็นสาเหตุของไฟไหม้ได้ เบรกเกอร์มีหลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านการทำงาน การใช้งาน และขนาดกระแสที่ทนได้
.
ค่าพิกัดกระแส (Breaking Capacity) เป็นตัวบ่งบอกถึงความสามารถของเบรกเกอร์ในการทนต่อกระแสไฟฟ้าที่ผ่านผ่านมันได้ โดยค่าพิกัดที่ควรทราบมีดังนี้
.
Amp Trip (AT): ขนาดกระแสที่ใช้งาน เป็นตัวบอกให้รู้ว่าเบรกเกอร์ตัวนั้นสามารถทนต่อกระแสในภาวะปกติได้สูงสุดเท่าใด
Amp Frame (AF): พิกัดกระแสโครง หมายถึงขนาดการทนกระแสของเปลือกหุ้ม เป็นพิกัดการทนกระแสสูงสุดของเบรกเกอร์นั้นๆ
Interrupting Capacitive (IC): พิกัดการทนกระแสลัดวงจรสูงสุดโดยปลอดภัยของเบรกเกอร์นั้นๆ มักแสดงในหน่วย kA
.
การเลือกค่าพิกัดกระแสของเบรกเกอร์ขึ้นอยู่กับขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านผ่านอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการใช้งาน เช่น
.
ต้องการใช้งานเครื่องทำน้ำอุ่น 4000W 220V จะทราบแล้วว่ากินไฟกี่ A คำนวณได้ว่าเครื่องทำน้ำอุ่นตัวนี้กินไฟประมาณ 18A คำนวณจาก P/V=A
.
สรุปว่า เบรกเกอร์ที่เหมาะสมสำหรับเครื่องทำน้ำอุ่น 4000W นี้คือเบรกเกอร์ 20A ต้องเลือกตามที่มีขายตามท้องตลาดทั่วไปและไม่มากเกินไปและไม่น้อยไปกว่า กระแสที่คำนวณได้
.
แหล่งข้อมูล narinelectric.com
#วิศวะ101 #วิศวะไฟฟ้า #คำนวณเบรกเกอร์

Опубликовано:

 

5 сен 2024

Поделиться:

Ссылка:

Скачать:

Готовим ссылку...

Добавить в:

Мой плейлист
Посмотреть позже
Комментарии : 32   
@chanontk5497
@chanontk5497 7 дней назад
คลิปสอนดีมากเลยครับ อธิบายจากเริ่มต้นกระบวนการคำนวณได้ดีครับ
@chaistn3773
@chaistn3773 5 месяцев назад
ผมใช้หลักง่ายๆ ครับ คือ Circuit Breaker จะเอาไว้ป้องกันสาย นั่นคือ "ค่าของ CB จะต้องน้อยกว่าค่าการทนกระแสของสาย" ตัวอย่างเช่น สาย 2.5 Sq.mm. จะทนกระแสตามมาตรฐานที่ 21 A (เดินลอยในอากาศ) ถ้าเดินในท่อจะคิดที่ 18 A ดังนั้น ผมจะเลือกใช้ CB ที่ 16 A ครับ เพราะถ้ากระแสเกิน 16 A เมื่อไหร่ CB จะตัดการทำงานครับ ดังนั้นไม่ว่าจะจ่ายโหลดออกไปเท่าไหร่ ก็ไม่มีทางเกินค่าทนกระแสของสาย ที่ 18 A ครับ
@user-fl7rf6fd6l
@user-fl7rf6fd6l 3 месяца назад
❤❤❤
@srimuangloypila5253
@srimuangloypila5253 4 дня назад
บุญชูจัง
@ChheatChhiv-zm3ei
@ChheatChhiv-zm3ei 23 дня назад
ดีๆ ครับ ขอบคุณครับ
@uthen_Trywithme
@uthen_Trywithme 8 месяцев назад
เป็นกำลังใจให้ครับ ได้ความรู้เยอะเลย ไม่ต้องไปสนใจพวกมือไม่พาย...ครับ
@somjaisubaim1941
@somjaisubaim1941 7 месяцев назад
ขอบคุณที่แบ่งปันความรู้
@kosinmos4027
@kosinmos4027 4 месяца назад
สนใจอบรมคำนวณแสงด้วย DIALUX ครับ....ค่าใช้จ่ายสูงไหมครับ.....มีโปรแกรมลงให้ไหมครับ
@importoetrading1540
@importoetrading1540 2 месяца назад
เต้ารับ 1 ชุดที่เสียบเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ 2 ชิ้น นับเป็น 1 หรือ 2 จุดครับ
@winner1338
@winner1338 Год назад
ทีแรกผมเข้าใจว่า กฏหมายบังคับให้ติดตั้ง 20A สำหรับปลั๊กไฟ และ 16A สำหรับหลอดไฟ พี่อธิบายตรงนี้ให้ฟังหน่อยครับ กฏหมายเขาว่าอย่างไร
@kanukichi637
@kanukichi637 8 месяцев назад
ลองดู IEC 60898 CBที่เหมาะสมกับที่อยู่อาศัยครับ ลองไปหาอ่านดู
@Hancock_4566
@Hancock_4566 22 дня назад
ถ้าเป็นปลั๊กนี่ 1จุดหรือ1ตัวครับ 200VA
@user-rg6ne6xk7r
@user-rg6ne6xk7r 17 дней назад
เอาเนื้อๆหน่อยครับ
@rtffft8430
@rtffft8430 Год назад
ตนอู่ไทfc
@intelonsleya
@intelonsleya Год назад
อยากรู้ว่า ถ้าเราใช้ power factor 0.9 หรือ 1 คำนวนเลย ไม่ได้หรือคับ ทำไม่ต้องเป็น 0.8 อย่างเดียว
@chaistn3773
@chaistn3773 5 месяцев назад
ปกติ 0.8 คือประสิทธิภาพสูงที่สุดแล้วสำหรับโหลดที่มีขดลวดเป็นส่วนประกอบครับ ส่วนโหลดที่เป็นตัวต้านทาน (เช่นหลอดไส้หรือลวดความร้อน) จะมีค่า pf=1 ครับ Watt คือกำลังไฟฟ้าจริง VA คือกำลังไฟฟ้าที่ป้อนเข้าไป Var คือกำลังไฟฟ้าต้านกลับ (เกิดจากโหลดที่เป็น ขดลวดแม่เหล็ก หรือ โหลดที่เป็นตัวเก็บประจุ ทำให้เกิดมุม นำหน้า หรือล้าหลังแรงดัน)
@user-iv4re1bf8s
@user-iv4re1bf8s Месяц назад
@HhHh-vt8qe
@HhHh-vt8qe 7 месяцев назад
เอาเนื้อเนื้อเลยครับ น้ำไม่เอา น้ำทุกคลิป
@user-rg6ne6xk7r
@user-rg6ne6xk7r Год назад
อลัมพบทมากไป ต้องเอาเนื้อๆ
@widsawa101official
@widsawa101official 11 месяцев назад
ติ๊กต่อกเลยครับ
@BonnJourneyMC
@BonnJourneyMC 2 месяца назад
ทฤษฎี มาตราฐาน ก็ต้องเริ่มแบบนี้หละครับ ของใช้งาน 20-30ปี up
@user-uq4rz9el1m
@user-uq4rz9el1m 8 месяцев назад
ดูในเพย์ลิส เครื่องทำน้ำอุ่นยังหาร 0.8 แต่คลิปนี้ไม่หาร
@pichitthak853
@pichitthak853 Год назад
เคยเจอตรวจบ้าน สาย 2.5 เบรคเกอร์ 20 ไม่ให้ผ่าน
@satiranon2004
@satiranon2004 Год назад
ทำไม เผื่อมากไปเหรอครับ
@pichitthak853
@pichitthak853 Год назад
เขาบอกว่าสาย 2.5 ใช้ได้แค่ 16
@parktaeporw6040
@parktaeporw6040 9 месяцев назад
ถูกแล้วครับที่ไม่ผ่าน สาย 2.5 มัน 21 แอมก็จริงแต่นั่นคือ max คนตรวจเขามองว่าถ้าคุณใช้สายที่มีพิกัดกระแสต่ำกว่า หรือเท่ากับพิกัดของเบรกเกอร์ สายมันจะไหม้ก่อนเบรกเกอร์ตัดครับ ที่ถูกคือต้องเลือกสายที่มีพิกัดกระแสสูงกว่าเบรคเกอร์ครับ 1.25 ของพิกัดกระแสของเบรกเกอร์ คือกระแสสายครับ ที่เขาบอกสาย 2.5 ใช้ได้แค่เบรกเกอร์ 16 แอมป์ก็ถูกแล้วครับ เพราะ 16*1.25 = 20 amp ถ้าคุณใช้เบรคเกอร์ 20 amp ก็ 20*1.25 = 25 amp ซึ่งสาย THW 2.5 มันได้แค่ 21 amp ต้องเปลี่ยนเป็นสายเบอร์ 4 หรือไม่ถ้าคำนวณแล้วเบรกเกอร์ 16 amp ก็ไหว ก็เปลี่ยนเบรกเกอร์ครับ เปลี่ยนสายนี่งานหยาบเลยเปลี่ยนเบรคเกอร์ง่ายกว่า
@parktaeporw6040
@parktaeporw6040 9 месяцев назад
@@satiranon2004 สาย 2.5 ไม่สามารถใช้ได้กับเบรกเกอร์ 20 amp ครับ ถามว่าทำได้ไหม ทำได้ครับ แต่ถ้ามีคนตรวจเขาก็จะยึดตามการคำนวณครับ เพราะพิกัดกระแสของสายต้องเป็น 1.25 เท่าของเบรคเกอร์ครับ เหตุผลคือ ถ้าพิกัดกระแสของสายต่ำกว่าหรือเท่ากับพิกัดของเบรคเกอร์ สายมันจะไหม้ก่อนเบรคเกอร์ตัดครับ ถ้าสมมุตินายใช้เบรคเกอร์ 20 amp ต้องเอา 20 amp * 1.25 ก่อนแล้วค่อยไปเลือดสายครับ ใช้กรณี 20 amp ก็ 20*1.25 = 25 เกิน 21 amp ต้องใช้สายเบอร์ 4 ครับ
@chaistn3773
@chaistn3773 5 месяцев назад
ความปลอดภัย กับประหยัด นี่อยู่กันคนละฝั่ง เลยครับ
@Pandapo7777
@Pandapo7777 11 месяцев назад
อธิบายทางวิชาการไม่ควรเอาหน้าตัวเองมาออกนะ ดูแล้วไม่น่าดู
@widsawa101official
@widsawa101official 11 месяцев назад
ด้วยความเคารพนะครับ ผมไม่ได้บังคับให้มาดูเลย ช่องอื่นๆ ที่อธิบายดีกว่าผมมีเยอะเลยครับ
@user-et9vb4ht1z
@user-et9vb4ht1z 11 месяцев назад
เค้ามาให้ความรู้ควรเก็บความรู้นั้นไว้ครับ​ เรื่องอื่นมองข้ามไปเถอะครับ😊
Далее
У ГОРДЕЯ ПОЖАР в ОФИСЕ!
01:01
Просмотров 3,9 млн