Тёмный

สัมพัทธภาพ EP 04 : Twin Paradox ปฏิทรรศน์ฝาแฝด (Paradox ที่ไม่ใช่ Paradox) 

Curiosity Channel คนช่างสงสัย
Подписаться 222 тыс.
Просмотров 97 тыс.
50% 1

สั่งซื้อแว่น Ophtus ได้ที่ / ophtus
อย่าลืมใช้โค้ด SONGSAI เพื่อรับส่วนลด 100 บาทด้วยนะครับ
ติดตามเราที่ facebook : / becuriousth
สำรองไว้ เผื่อช่องบิน จะได้หากันเจอ
-------------------------------------------------------------------
ใครที่สนใจทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์ ก็คงรู้จัก Paradox นี้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะคนที่เพิ่งเริ่มศึกษาเรื่องนี้ใหม่ๆ ก็คงรู้สึกงงกับมันไม่น้อย
Twin Paradox จะบอกถึงความขัดแย้งในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของไอน์สไตน์ และใช้เป็นเหตุผลโจมตีว่าทฤษฎีนี้ไม่เป็นจริงได้
Twin Paradox มีใจความหลักๆ ว่า ถ้ามีคนสองคน เป็นฝาแฝดกัน สมมุติว่าเป็นนาย A กับนาย B
ถ้านาย B ขึ้นจรวด ออกเดินทางไปท่องเที่ยวจักรวาลอันไกลโพ้นด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง ส่วนนาย A รออยู่ที่โลก
ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษแล้ว นาย B ที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเข้าใกล้แสง เวลาควรจะเดินช้ากว่านาย A ที่อยู่นิ่งๆ บนโลก ดังนั้นวันที่นาย B กลับมายังโลก เวลาบนโลกต้องผ่านไปมากกว่าเวลาบนจรวด นาย A ต้องมีอายุมากกว่า นาย B
พอถึงตรงนี้ก็ไม่รู้สึกแปลกอะไร มันก็ฟังดูตรงไปตรงมาใช่ไหมครับ
แต่มันไม่ได้จบแค่นี้น่ะสิครับ ทฤษฎีสัมพัทธภาพบอกว่า ความเร็วเป็นสิ่งสัมพัทธ ในมุมมองของนาย A จะมองเห็นจรวดของนาย B เคลื่อนที่ห่างออกไป ในขณะที่โลกอยู่นิ่ง นาย A จะบอกว่าเวลาของนาย B ต้องช้ากว่า
ในขณะที่มุมมองของนาย B จะเห็นโลกเคลื่อนที่ห่างออกไป ในขณะที่จรวดอยู่นิ่ง นาย B จะบอกว่าเวลาของนาย A ช้ากว่าต่างหาก
มุมมองของฝาแฝดทั้งสองคน ให้ผลสรุปที่แตกต่างกัน เราถึงเรียกมันว่า Paradox นั่นเองครับ
งั้นแสดงว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษของไอน์สไตน์ผิดอย่างนั้นหรือ?
-------------------------------------------------------------------
Reference
สัมพัทธภาพ โดย ดร.บัญชา บุญสมบัติ
m.se-ed.com/De...
Complete Solution To The Twins Paradox
• Complete Solution To T...
สารคดี ประวัติ ไอสไตน์ (albert einstein)
• สารคดี ประวัติ ไอสไตน์...

Опубликовано:

 

16 окт 2024

Поделиться:

Ссылка:

Скачать:

Готовим ссылку...

Добавить в:

Мой плейлист
Посмотреть позже
Комментарии : 252   
@waroonh4291
@waroonh4291 3 года назад
Opthus เข้าแล้ว เยี่ยมเลย จริงๆ สัมพัทธภาพ ที่มอง space (3 มิติ) + เวลา (มิติที่ 4) ..ขาดไปนิดเดียว คือ ถ้าเวลาเดินช้าหรือเร็วขึ้นได้ ระยะทาง ก็หดสั้นหรือขยายออกได้ เช่นกัน ถ้าเราอยู่บนโลก สภาวะ Gravity บนโลก ทำให้เรามองเห็น Twin Paradox บนยาน เดินทาง 10 ปี ระยะทาง 10 ปีแสง ,Twin Paradox บนยาน จะเดินทาง 8 ปี (เวลาเดินช้าลง 20%) เห็น ระยะทาง 8 ปีแสง (1 unit of distinct ขยายออก 20%) กลายเป็นระยะทางระหว่างดาวเหลือแค่ 4 ปีแสง เมื่อทั้งสองคนวัดความเร็วแสง จะได้ ความเร็วแสงที่ c ทั้งคู่ ถ้า Twin Paradox บนยาน เดินทางไปถึงดาว แล้ว ดาวนั้นมีสภาวะ Gravity เท่าโลก หยุดยาน แล้วหันมองกลับมา ระยะทางระหว่างดาวจะกว้างขึ้นเป็น 5 ปีแสง เหมือนเดิม แล้วเราจะได้ มิติเป็น [กว้าง x ยาว x สูง] x [ระยะเวลา x ระยะทาง x Gravity] หรือ 6 มิติ พอดี
@Prasa_Yiaedin
@Prasa_Yiaedin 3 года назад
เมื่อเดินหน้ามีค่ากำไร แต่เมื่อถอยหลังมีค่าขาดทุน เมื่อไวขึ้นมี่เวลาที่ลดลง แต่เมื่อช้าลงมีเวลาที่เพิ่มขึ้น คิดเห็นผลแต่มุมเดินหน้า คิดเห็นผลแต่มุมของความไว แต่ผลจากมุมถอยหลัง และผลจากมุมความเร็วที่ช้าลงไม่คิด นั่นคือทฤษฏีปิดตาข้างหนึ่งในการมอง
@phisitpooratanachinda7894
@phisitpooratanachinda7894 3 года назад
@@Prasa_Yiaedin ความคิดเห็นแสดงออกได้ว่าคุณไม่มีความรู้ด้าน ฟิสิกส์
@TurGaliho
@TurGaliho Год назад
Kmm😊😊ki😅😅😊😊😅😊i😅😅😊😊😅m
@ylamoon
@ylamoon 2 года назад
เป็นวิธีอธิบายที่ผมยังไม่เข้าใจเท่าไหร่ครับ แต่ผมจะลองอธิบายด้วยวิธีของผมละกัน เผื่อจะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่อาจจะทำให้เข้าใจมากขึ้น ถ้าเรายืนกับที่และมีรถวิ่งผ่านเราไป เราจะเห็นรถวิ่งผ่านเราไปด้วยความเร็วปกติ สมมติรถวิ่งด้วยความเร็ว 80 ก.ม./ช.ม. เราก็จะรู้สึกว่านี่คือความเร็ว 80 ก.ม./ช.ม. ที่เรารับรู้ได้ตอนที่เราอยู่กับที่ แต่ถ้าเราเคลื่อนที่บ้าง สมมติว่าเราวิ่งด้วยความเร็ว 50 กม./ชม. แต่รถที่วิ่งตามหลังเรามาวิ่งด้วยความเร็ว 80 กม./ชม. เราจะพบว่ารถคันนั้นจะใช้เวลามากขึ้นในการเคลื่อนที่ตามเรามา ซึ่งจะต่างจากตอนที่เรายืนเฉยๆ ที่รถวิ่งผ่านเราไปเร็วมาก แต่พอเราเคลื่อนที่บ้าง เรากลับพบว่ารถที่วิ่งตามหลังเรามาวิ่งช้าลง และค่อยๆ แซงเราไป ทั้งที่รถคนนั้นก็วิ่งด้วยความเร็วเท่าเดิม เมื่อเราเร่งความเร็วเพิ่มเป็น 79 กม./ชม. เราจะพบว่ารถที่วิ่งตามเรามาวิ่งช้ามากๆ (แม้ว่ามันจะใช้ความเร็ว 80 ก.ม./ชม.) และใช้เวลานานมากกว่าจะมาถึงเราและแซงเราไปอย่างช้ามากๆ และถ้าสมมติว่าขณะที่รถคันนั้นตามเรามาทันและอยู่ในตำแหน่งเดียวกันพอดี ทั้งรถเราและรถคนนั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากัน ไปในทิศทางเดียวกัน เราก็จะพบว่ารถคนนั้นก็จะตามเราไปทุกที่ไม่ว่าเราจะวิ่งไปไหน หันไปมองทีไรมันก็จะวิ่งขนาบข้างเราไปตลอด คราวนี้ผมจะเอาตัวอย่างข้างบนมาปรับใช้กับความเร็วแสงบ้าง สมมติว่าแสงเดินทางด้วยความเร็ว 80 กม./ชม. (ขอใช้ความเร็วนี้เพื่อให้เราเข้าใจง่ายกว่าความเร็ว 300,000 กม./วินาทีนะครับ) เมื่อเรายืนกับที่ แสงของเหตุการณ์จากแหล่งกำเนิดแสงจะวิ่งมาถึงตาเราด้วยความเร็วปกติ สมมติว่าเราเห็นผู้ชายคนหนึ่งนั่งกินข้าวอยู่ เราจะเห็นผู้ชายคนนี้กินข้าวด้วยความเร็วปกติ แต่ถ้าเราเคลื่อนที่ออกจากผู้ชายคนนั้นด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. แสง ณ เวลาต่างๆ ของนายคนนั้นที่นั่งกินข้าวอยู่จะใช้เวลามากขึ้นในการเดินทางมาถึงตาเรา เพราะเมื่อแสงวิ่งมาหาเรา เราก็วิ่งหนีมันไปด้วย แต่เนื่องจากเรายังเคลื่อนที่ช้ากว่ามัน สุดท้ายแสง ณ เวลานั้นก็จะมาถึงตาของเราและแซงเราไป สิ่งที่จะเกิดขึ้นก็คือ เราจะเห็นผู้ชายคนนั้นกินข้าวช้าลง เพราะแสง ณ ช่วงเวลาต่างๆ จากแหล่งกำเนิดแสงต้องใช้เวลามากขึ้นกว่าจะมาถึงดวงตาของเราซึ่งกำลังเคลื่อนที่หนีจากแหล่งกำเนิดแสง ถ้าเราเพิ่มความเร็วเป็น 79 กม./ชม. เราจะยิ่งพบว่านายคนนั้นกินข้าวช้ามากๆ จนแทบจะไม่ขยับเลย กว่าจะตักข้าว กว่าจะยกช้อนมาที่ปาก กว่าจะเคี้ยวข้าว มันจะช้ามากๆ และเมื่อเราเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 80 กม./ชม. เท่าความเร็วแสง เราจะเห็นนายคนนั้นหยุดนิ่งกับที่ เพราะแสงจากนายคนนั้นที่มาถึงตาของเรา ณ เวลาที่เราเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสงจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกับเรา เราไปไหนแสง ณ เวลานั้นก็จะตามเราไปด้วย ไม่มีใครแซงใคร ดังนั้น เมื่อมองกลับไปที่ชายคนนั้น เขาก็จะอยู่ท่าเดิม สมมติว่าแสงสุดท้ายจากนายคนนั้นที่มาถึงตาเราตอนความเร็วเท่ากันคือตอนที่นายคนนั้นกำลังตักข้าวใส่ปาก ภาพนายคนนั้นขณะตักข้าวใส่ปากก็จะค้างอยู่อย่างนั้น ไม่ว่าเราจะวิ่งออกไปจากนายคนนั้นเป็นระยะเวลากี่ปี นายคนนั้นก็จะยังอยู่ท่าเดิม แม้ว่าความเป็นจริงเขาจะไปทำอย่างอื่นแล้ว เพราะแสงของเหตุการณ์อื่นๆ หลังจากนั้นไม่สามารถเคลื่อนที่มาถึงตาของเราได้ ตีความได้ว่าเมื่อเราอยู่กับที่ แสงจะเดินทางมาถึงตาเราด้วยความเร็วปกติ การเคลื่อนที่ก็จะปกติ เวลาก็จะเดินตามปกติ แต่เมื่อเราเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกำเนิดแสง แสงจะใช้เวลามากขึ้นในการเดินทางมาถึงตาเรา เราจะเริ่มเห็นการเคลื่อนไหวของเหตุการณ์ ณ แหล่งกำเนิดแสงช้าลงแบบสโลว์โมชั่น เช่น ถ้าเขากินข้าวอยู่ เราก็จะเห็นว่าเขากินข้าวช้าลง (แม้ว่าในความเป็นจริงเขาจะกินด้วยความเร็วเท่าเดิม) เท่ากับเวลาของคนที่เดินทางช้าลงนั่นเอง เมื่อเราเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสง แสงสุดท้ายของนายคนนั้นที่มาถึงตาของเราจะเดินทางไปพร้อมกับเราด้วยความเร็วเท่ากัน สมมติว่าตอนที่เราเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่าแสงนั้น เราเห็นเขากำลังตักข้าวเข้าปาก ภาพนั้นก็จะตามเราไปทุกที่ นายคนนั้นจะอยู่ในท่านั้นและไม่ขยับเขยื้อนราวกับเป็นรูปปั้น ก็เท่ากับเวลาหยุด
@ylamoon
@ylamoon 2 года назад
สมมติว่าเมื่อเราเดินทางด้วยความเร็วเท่าแสงไปสักพัก จากนั้นก็เปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนที่แบบ 180 องศาทันที ก็คือเดินทางกลับไปหาแหล่งกำเนิดแสง สมมติว่าเราเดินทางกลับไปหาแหล่งกำเนิดแสงด้วยความเร็วเท่าแสง (เวลาสมมติคือ 80 กม./ชม.) นายคนนั้นที่นั่งกินข้าวอยู่ก็จะเริ่มเคลื่อนไหว แต่เคลื่อนไหวด้วยความเร็วเป็นสองเท่าของการเคลื่อนที่ปกติ เพราะแสงจากนายคนนั้นเดินทางมาหาเรา เราก็เดินทางไปมามัน มันจึงมาถึงตาเราเร็วขึ้น เหมือนรถวิ่งสวนกัน เราจะพบว่ามันวิ่งมาหาเราและผ่านไปเร็วมาก ในกรณีนี้ มันจะเสมือนว่าแสงเดินทางด้วยความเร็ว 160 กม./ชม. แปลว่าเราจะเห็นเหตุการณ์ ณ แหล่งกำเนิดแสงเคลื่อนที่เร็วกว่าเดิมเป็น 2 เท่า นายคนนั้นจะกินข้าวเร็วมาก กินข้าวเสร็จก็จะไปทำกิจกรรมอื่นๆ ด้วยความเร็ว 2 เท่าเช่นกัน เวลาของเราก็จะเร็วขึ้นเป็น 2 เท่าด้วย เมื่อเรามาหยุดอยู่ตรงหน้าชายคนนั้น เราก็จะเห็นเขาทำสิ่งต่างๆ ด้วยความเร็วปกติและเป็นเหตุการณ์ปัจจุบัน เวลาของเรากับเขาก็จะเท่ากัน แล้วถ้าเราเดินทางด้วยความเร็วมากกว่า 80 กม./ชม. ล่ะ สมมติว่าก่อนจะกินข้าว นายคนนั้นซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดแสงดื่มกาแฟอยู่ เมื่อเราออกเดินทางตอนที่เขากำลังกินข้าวอยู่และเร่งความเร็วขึ้น นายคนนั้นจะกินข้าวช้าลงเรื่อยๆ จนกระทั่งหยุดนิ่งกับที่เมื่อเราเดินทางด้วยความเร็วเท่ากับแสง เมื่อเราเร่งความเร็วให้มากกว่าแสง เช่น 90 กม./ชม. เราจะพบว่านายคนนั้นกินข้าวแบบถอยหลังด้วยความเร็วแบบสโลว์โมชั่น เพราะเราวิ่งแซงแสงในอดีตของนายคนนั้นได้แล้ว คล้ายๆ กับรถคนหนึ่งที่วิ่งแซงเราไปก่อนหน้านี้ เมื่อเราเร่งความเร็วให้มากขึ้นจนมากกว่าความเร็วของรถคนนั้น ไม่นานเราก็จะตามทันและแซงไป ดังนั้น เราก็จะแซงแสงในอดีตของนายคนนั้นไปเรื่อยๆ ยิ่งเร่งความเร็ว นายคนนั้นก็จะเคลื่อนที่แบบถอยหลังเร็วขึ้น เขาจะเดินถอยหลังไปที่โต๊ะกาแฟ กาแฟหมดแก้ว เขายกแก้วขึ้นมาดื่มแบบถอยหลัง กาแฟในแก้วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนเต็ม เห็นเขาคนกาแฟแบบถอยหลัง เห็นผงกาแฟลอยกลับเข้าไปในซองกาแฟ และย้อนกลับไปเรื่อยๆ นี่คือการย้อนอดีต เวลาเดินถอยหลัง ถ้าเราเคลื่อนที่เร็วขึ้น เวลาก็จะเดินถอยหลังเร็วขึ้น แต่เราทำอะไรไม่ได้นะครับ เพราะเราแค่เห็นแสงในอดีต แต่มีปฏิสัมพันธ์กับเหตุการณ์นั้นไม่ได้
@mastersm7341
@mastersm7341 Год назад
@@ylamoon แค่คุณเดินทางเร็วกว่าแสงคุณก็ไม่เห็นอะใรแล้ว_คุณจะเข้าโหมดหลุมดำแล้ว
@ylamoon
@ylamoon Год назад
@@mastersm7341 รู้ครับ แล้วจะให้ผมอธิบายอย่างนั้นเหรอว่าไม่เห็นอะไรเลย แล้วผมจะมาเสียเวลาเขียนอธิบายทำไมยืดยาว บางอย่างมันต้องอธิบายเชิงทฤษฎีครับ
@PaitongCup
@PaitongCup 3 года назад
รอมานานเลยครับ OPTHUS เป็นช่องที่ควรเข้านานแล้ว
@lil.K1A
@lil.K1A 2 года назад
ผมยังไม่กดติดตามเลยครับแต่กำลังตามดูอยู่
@Nchaikul
@Nchaikul 3 года назад
สุดยอดครับ ตัดเข้าโฆษณากลางทางได้ด้วย :) ขอบคุณสำหรับคลิปความรู้นะครับ ฟังเพลินดี
@sakolchatthong7483
@sakolchatthong7483 3 года назад
เรียนตอนแรกเข้าใจ...เรียนต่อมายิ่งงง...เรียนไปเรื่อยๆเหมือนย้อนเวลากลับมาตอนยังไม่เรียน
@cherdphongp.6310
@cherdphongp.6310 3 года назад
ดีนะคุณยังเคยเข้าใจ ผมหนะไม่เคยเข้าใจเลย555
@---tx3zy
@---tx3zy 5 месяцев назад
เรียนคณะอะไรถึงมีเรื่องนี้หรอคะ
@กิติวรรณจันทรศรี
ค้างคาใจมานาน. พึ่งเข้าใจ. ทำกราฟออกมาเข้าใจเลย. ครูวิทย์มาดูบ่อยๆเด็กไทยไปไกลแน่
@พรนุวัฒน์ศรีพัลลพ
ผมเพิ่งเคยเห็​น​กราฟ​ที่​เทียบ​ A กับ B ปีต่อปีแบบนี้ครั้งแรก​ ขอบคุณ​ครับ​
@paulomanuelsendimairespere3901
@paulomanuelsendimairespere3901 2 года назад
People will understand the twin para when you say the values of the following problem (having or not similar results). Until then, you are running away from the main point. Imagine twin A on Earth. Earth and the Star (speaking about abstract points fixed in a system) are going left with v/2. Imagine twin B in a spaceship to the right with v/2. When twin A calculates twin B to reach the Star, he reverses (and the Earth and the Star go together with him.) When twin B sees reaching the Star, he reverses too. Twin B stops a clock just after leaving the Earth, another just before reaching the Star, another just after leaving the Star, and another just before reaching the Earth. Twin A also stops one clock just after leaving Twin B, another one just before reversing, another one just after reversing, and another one when they meet. I want to know the values of those stopped clocks when they meet.
@matmiboomboom8120
@matmiboomboom8120 2 года назад
ประทับใจการเข้าโฆษณาแบบเนียนๆมากค่ะ ฟังแล้วหลุดยิ้มเลยค่ะ 👍🏻👍🏻👍🏻
@ReignofFishes
@ReignofFishes 7 месяцев назад
คำอธิบายที่1 ความเร่ง ความหน่วงสมมูลกับแรงโน้มถ่วง แต่มองแค่นายBที่มีความเร่ง แต่ถ้ามองว่านายBอยู่นิ่ง แล้วโลกหรือนายAวิ่งห่างออกไปด้วยความเร่งจะได้ไหม คำอธิบายที่ 2 มองว่านายBเกิดเล้งคอนแทรกชั่นเพราะมีความเร็ว แต่นายAไม่เกิดเพราะหยุดนิ่ง แล้วถ้ามองสลับกันล่ะจะได้ไหมครับ
@hd59dy15
@hd59dy15 2 года назад
ขอถามหน่อย Aเห็นB ไปกลับ10ปี แต่Bบอกว่า6ปี เพราะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสง แต่เราที่เป็นคนดูตัวอย่างAกับB ก็จะเห็นว่ามัน10ปีเช่นเดียวกับที่Aมองใช่ไหม งงตรงที่ว่ามันเป็นไปได้ยังไงว่าBจะอายุน้อยกว่าA ทั้งที่ใช่เวลาเหมือนกัน
@iivivv3598
@iivivv3598 Год назад
ก็ประมาณ เป็นเรื่องความรู้สึกด้วย มั้งที่ความรู้สึกของนายBเหมือนไปแป้บเดียวแต่คนที่รอนายAจะรู้สึกว่านานซึ้งถ้าอิงเวลาในโลกยังไง 2คนนี้ก็อายุเท่ากันอยู่ดี ความคิดเห็นส่วนตัวฮะ
@squidprogrammer
@squidprogrammer Год назад
ไม่ครับ ต้องพูดว่าใช้เวลาไม่เหมือนกัน ถ้าพูดว่าใช้เวลาเหมือนกันก็จะยังทำความเข้าใจเรื่องนี้ไม่ได้ เพราะเวลาของแต่ละคนเป็นเอกเทศ เป็นสิ่งสัมพัทธ์ มีเวลาไม่เท่ากัน เหมือนกับการเคลื่อนที่ที่แต่ละคนเคลื่อนที่เร็วไม่เท่ากัน เวลาก็เหมือนกับความเร็วที่ใช้เคลื่อนที่
@nandhedavinz3526
@nandhedavinz3526 2 года назад
ผมสงสัยอะครับว่าถ้าทั้งคู่วิดีโอคอลหากันตลอดเวลาตั้งเเต่นายbออกเดินทางเราจะสามารถเห็นอะไรได้บ้างครับ ภาพของนายbจะช้าลงมั้ย เเล้วถ้านายเอถามคำถามกับนายบีไปนายบีจะรับรู้ได้ช้ามั้ย
@Alfarooq-g2y
@Alfarooq-g2y Год назад
ผมอยากรู้คือมันเกิดขึ้นจริงหรือเป็นเพียงการหาคำตอบตามสูตร คนเดินทางในอวกาศกลับมาจะมีอายุมากกว่าคนบนโลกจริง หรือแค่เยอะกว่าตามสูตรคำนวณ อายุเยอะกว่า หมายถึงใบหน้าแก่กว่าด้วยหรือไม่ หรือแค่คำตอบจากสูตรได้ตัวเลขเยอะกว่าแต่ใบหน้าแก่เท่ากัน เคยมีคนออกนอกอวกาศกลับมาแล้วใบหน้าแก่เพื่อนรุ่นจริงๆ ไหม และใบหน้าแก่กว่าทุกคนไหม หรือใบหน้าแก่เท่ากัน มีเพียงคำตอบจากสูตรที่ได้คำตอบต่างกัน
@Simulator1stPersonView
@Simulator1stPersonView 3 года назад
สุดยอดครับกับตัวอย่าง การส่งสัญญาณหรือการมองเห็นกันของคนที่เดินทางเข้าใกล้ความเร็วแสงกับคนที่อยู่นิ่งบนโลก ผลลัพธ์ที่อธิบายในคลิป ทำเอาปวดหัวจริงๆ ผมสงสัยว่า กรณีที่การสัญญาณหรือการมองเห็นกันของคนที่ ต่างคนก็เดินทางออกจากกันด้วยความเร็วเข้าใกล้แสงแล้วเดินทางกลับมาเจอกันที่โลก ทั้งสองคนนี้ เทียบกันระหว่างคนสองคนที่เดินทางออกจากกัน และกรณีเทียบกับคนที่อยู่บนโลก ผลจะเป็นอย่างไรครับ?
@Prasa_Yiaedin
@Prasa_Yiaedin 3 года назад
เขาต้องพุ่งกลับมาโลกและลงจอดด้วยความเร็วเกือบเท่าแสงนะครับห้ามชะลอความเร็วลงแม้แต่น้อย และเมื่อจอดแล้วต้องเปิดเครื่องสร้างสภาวะความเร็วเทียมภายในยานเพื่อรักษาค่าเวลาในยานให้คงที่ เพราะถ้าชะลอความเร็วลง ขบวนการของเวลาภายในยานก็จะสปีทตัวไวขึ้นจากการลดลงของความเร็วของยานและจะทำให้คนทั้งคู่ที่อยู่บนยาน เมื่อกลับมาถึงโลกจะแก่จนแซงหน้าคนที่อยู่นิ่งๆบนโลกไปนะครับ
@Prasa_Yiaedin
@Prasa_Yiaedin 3 года назад
มันเหมือนแรงดีดกลับของเวลา ที่เป็นมุมกลับของการเคลื่อนที่ที่ช้าลงที่ให้ผลตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ด้วยความไว
@phisitpooratanachinda7894
@phisitpooratanachinda7894 3 года назад
@@Prasa_Yiaedin แสดงว่านาฬิกาที่นักบินอวกาศนำขึ้นไปและกลับลงมาโลกทำงานผิดสิครับ หรือไม่ว่าจะเป็นของนักบิน SR -71 ด้วยสิครับ ถ้าใช้การอธิบายของคุณ
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
**เพื่อลดความสับสน ขอระบุไว้ก่อน** "เวลาสุทธิผ่านไปเท่ากัน" หมายถึง นับจำนวนปีบนโลกตั้งแต่เริ่มโจทย์ ผ่านไปเป็นจำนวนปีเท่ากัน "เวลาเดินเร็วเท่ากัน" หมายถึง เมื่อ A เห็นเวลาตัวเองผ่านไป 1ปี B ก็ผ่านไป 1ปี เท่ากัน (แต่เลขสุทธิอาจจะเป็น เห็นตัวเอง 4->5 เทียบกับเห็นเขา 5->6 ใช้เวลา1ปีเท่ากัน ก็ได้) เพราะเวลาพูดถึงสถานการณ์สัมพัทธภาพ มันต้องดูทั้งพิกัดตำแหน่งเวลา และความเร็วของเวลา ถ้าไม่คิดแยกให้ดี อ่านไปจะสับสนได้ง่ายครับ (อ่านโจทย์แล้วแอบสับสน หวังว่าผมจะเข้าใจถูกนะครับ) สมมุตินึกภาพโลกอยู่นิ่ง นึกเป็นภาพ2มิติ มีบน ล่าง ซ้าย ขวา A อยู่บนโลก นิ่งๆ B เดินทางไปทางขวา แล้วเลี้ยวกลับมา C เดินทางไปทางซ้าย แล้วเลี้ยวกลับมา ความเร็ว-ระยะทางเท่ากับ B เป๊ะๆ แค่กลับด้าน เทียบระหว่าง B,C กับ A B,C ต่างจะเจอเหตุการณ์ที่เทียบกับ A เหมือนกับโจทย์เดิมครับ ระหว่างเดินทางด้วย v คงที่ B,C จะเห็นเวลาของตัวเอง เดินเร็วกว่า A ด้วยสัดส่วน time dilation เท่าๆกัน (เพราะ v สัมพัทธต่อ A มันเท่ากัน แค่คนละทิศทาง) และเพราะเซตติ้งการเร่ง-เลี้ยว-เบรคจอด เหมือนกันหมด (แค่กลับด้าน) การเปลี่ยนกรอบ ก็เปลี่ยนไปในปริมาณเท่าๆกันด้วย กลับมาแล้ว B,C เวลาสุทธิจะผ่านไปน้อยกว่า A มี A แก่สุดอยู่คนเดียว ส่วนกรณี B เทียบกับ C อันนี้จะเริ่มยุ่งยาก 1.ในแง่เวลาสุทธิ ตอนจบโจทย์ ทั้ง B และ C ผ่านไปเท่ากัน กลับมาก็จะแก่เท่ากัน เพราะผ่านการเปลี่ยนกรอบไปปริมาณเท่าๆกัน อันนี้ไม่มีปัญหา 2.ภาพระหว่างเดินทางออกจากกัน ด้วย v คงที่ คือคิดแบบเบื้องต้น มันก็แค่สัมพัทธภาพพิเศษ ที่ใส่ v เพิ่มไป2เท่า เป็น 2v time dilation ก็จะเปลี่ยนไปตามนั้น จบ B จะเห็น C เวลาช้ากว่าตัวเอง แบบช้ากว่า A อีก C ก็จะเห็นในทางตรงกันข้าม แต่ ถ้าเดิมทีโจทย์เดิมๆเราตั้งไว้ v= 3/5 c งี้ ทีนี้พอจะเทียบระหว่าง B-C มันมีความเร็วสัมพัทธ 2v = 6/5 c มันจะมากกว่า c กลายเป็น"คำนวณไม่ได้"ไปแทน ถ้ามองในทางเทคนิค คือในเมื่อต่างฝ่ายต่างเดินทางออกจากกัน ด้วยความเร็ว v ที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของความเร็วแสง c ดังนั้น ระหว่างเดินทางออกจากกัน ข้อมูลจาก B-C จะส่งไม่ถึงกันครับ (เพราะ v สัมพัทธ มันจะทะลุ c ไปแล้ว) สภาพแบบนั้นไม่เข้ากับโมเดลสามเหลี่ยมพีธากอรัส ของสูตรที่ใช้หา time dilation หรือก็คือ "คำนวณไม่ได้" จะไปได้ข้อมูลอีกที ก็หลังจากเลี้ยวกลับมา เข้าสู่ช่วง "เดินทางเข้าหากัน" ไปแล้วนู่น แรกเริ่มเดิมที สูตร time dilation formula มันมาจากโมเดลสามเหลี่ยมพีธากอรัส (vt')^2 + (ct)^2 = (ct')^2 เป็นรูปที่วาดไว้แบบ ต้องให้ c > v ถึงจะเกิดเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากจริงได้นั่นเอง แค่นักวิทย์เลือกย้ายข้างซะไปกองข้างเดียวหมด ตัวสูตรเลยออกมาดูน่ากลัวเกินจำเป็นไปหน่อย (เข้าใจว่าเอาไว้ใส่เป็นฟังก์ชันในโปรแกรมคอมอ่ะนะ)
@Simulator1stPersonView
@Simulator1stPersonView 3 года назад
@@cheerosukolpat3154 ขอบคุณครับ
@ณัฐติพลคนโก้
พี่อธิบายได้เยี้ยมมากครับ อธิบายด้วย วิทยาศาส์ชอบครับทำต่อไปน้ะครับติดตามครับ
@ggkt8546
@ggkt8546 3 года назад
ผมชอบการขายของพี่อะครับขายของเเบบวิทยาศาสตร์​ชอบๆๆๆ
@sciencast958
@sciencast958 3 года назад
ชอบด้วย555
@binnbin3
@binnbin3 3 года назад
ผมก็เคยลองคิดดูในหัวเล่นๆแล้วเหมือนกัน มาฟังที่พี่พูดก็เข้าใจกว่าเดิม สนุกมากครับ
@สามารถธนบดีพิเชฐ
ขอบคุณครับ ความรู้ดีๆ เป็นกำลังใจครับ
@myappplay
@myappplay 3 года назад
อยากให้ทำเรื่อง free energy หน่อยครับ ว่าตามหลัก ฟิสิกส์ แล้วมันเป็นไปได้หรือไม่ อย่างไร เพราะมีคนไม่เข้าใจเรื่องนี้อยู่ เช่น ข่าวลุงเครื่องปั่นไฟ เมื่อหลายปีก่อน
@มาราธอนอุดรธานี
สนับสนุนครับ ถ้าพี่คนนี้อธิบายน่าจะเข้าใจง่ายหน่อย
@Rekonn_x
@Rekonn_x 3 года назад
ขอบคุณช่องนี้จริงๆครับที่ทำให้วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องใกล้ตัวและเข้าใจง่ายมากขึ้น❤️
@bewwyweeb
@bewwyweeb 3 года назад
มาดูแล้วค่ะ เปิดมาตกใจแว่น Opthus เข้ามาได้ไง555 แต่ว่าชอบการขายของมาก เดี๋ยวจะอุดหนุนละกัน
@fbig7
@fbig7 3 года назад
อาจารย์ ช่วยคิดคำตอบหน่อยครับ ถ้าเรา ปล่อย space station ไว้อยู่กับที่บนอวกาศ แล้วสมมติให้โลกโคจร รอบดวงอาทิตย์ 1รอบ คือ 1ปี กลับมาเจอกับ space station ไม่ทราบว่าเวลาจะต่างกันไปเท่าไรครับ ขอบคุณครับ
@ธนวรรณอิ่ม
@ธนวรรณอิ่ม 11 месяцев назад
อัตราการเต้นของหัวใจไม่เคยหลอกครับ อายุขัยที่แท้จริงไม่เปลี่ยนแปลง?
@nerofuzzy
@nerofuzzy 3 года назад
แอดอ่าน 'ดาวซานถี่' ไปรึยังครับ
@PopAraks
@PopAraks 3 года назад
แล้วถ้ายานอวกาศไม่ได้เร่งไปด้วยความเร็วสูง แต่ปล่อยออกไปลอยนิ่งๆ อยู่ในอวกาศ ในขณะที่โลกเรามีทั้งแรงโน้มถ่วงและมี่ความเร็วของการโคจรรอบดวงอาทิตย์ แบบนี้เวลาในยานอวกาศจะเร็วกว่าบนโลกหรือป่าวครับ ?
@deep_kungch3010
@deep_kungch3010 3 года назад
ผมแนะนำให้เอา Introมาไว้ข้างหน้าสุดของคลิปเลยครับจะได้รู้สึกไม่สะดุดส่วนตัวผมรู้สึกว่าอ้าววนี่พึงอินโทรหรอเนี่ยทั้งๆที่พี่กล่าวมาเยอะแล้วอะครับ
@johnsonjohnsonforprivate2040
@johnsonjohnsonforprivate2040 2 года назад
เพื่อนผมขับรถด้วยความเร็วสูงทุกครังที่มีโอกาส ตอนนี้อายุมันหยุดอยู่ที่24ครับ
@marumaru8338
@marumaru8338 3 года назад
ขอเรื่องทฤษฎีสตริงได้มั้ยครับ แล้วก็อยากให้แนะนำหนังสือวิทย์ที่พี่สนใจด้วย
@moonlessknife2694
@moonlessknife2694 3 года назад
ชอบแทรกการขายแว่นโอเคซื้อ555
@christ7893
@christ7893 3 года назад
ชอบตรงที่มีกราฟให้ดู เข้าใจง่ายมากๆๆๆ
@PhichamonChuluean
@PhichamonChuluean Год назад
เเล้วถ้าเราเดินทางได้เท่ากับเเสงหล่ะ?
@lindaeak
@lindaeak 3 года назад
อยากถามหน่อยครับ แสงเดินทางได้ไกลแค่ไหนเหรอครับ 😅🙏
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
ได้เรื่อยๆ ครับ แต่ ความยาวคลื่นจะยาวขึ้น จนอยู่ในช่วงคลื่นที่เรามองไม่เห็น
@lindaeak
@lindaeak 3 года назад
สมมุติว่า ถ้าอยู่ขอบจักรวาล แสงจากจุดๆนั้น(สมมุติว่าไม่มีอะไรกั้น) ก็จะเดินทางมาถึงโลกเหมือนกันใช่มั้ยครับ อยู่ที่ความยาวคลื่นกับเวลาใช่ป่าวครับหรืออยู่ที่ความสว่าง...เข้าใจถูกหรือปล่าว...ขอบคุณครับ 😅🙏
@ปืนใหญ่เมืองคอน
@@lindaeak ใช้ครับ ถ้ามีจักรวาลอีกที่นอกจักรวาลของเรา เราจะพบก็ต่อเมื่อขอบของ 2 จักรวาลมาชนกันครับ
@porstoryth1903
@porstoryth1903 3 года назад
เสพติดช่องนี้แล้วครับ ✌️
@lee1channel
@lee1channel 3 года назад
การอธิบายเนื้อหา เป็นขั้นตอน ทำให้คนที่ไม่มีพื้นความรู้อย่างลุงเข้าใจง่ายโดนใจมากครับ และชอบใจตรงที่นำเสนอผลิตภัณฑ์ในช่วงแรก กลมกลืนกับเนื้อหาที่กำลังกล่าวถึงอยู่ณขณะนั้นได้เป็นอย่างดีเลย รอติดตามคลิปต่อไปอยู่นะครับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
ขอบคุณมากครับลุงลี ติดตามลุงลีเช่นกัน และเป็นกำลังใจให้มากๆเลยครับ
@ลอดช่องแม่บัวพัน
ตั้งใจฟังมากโดยเฉพาะช่วง ออปตัส😂😂😂
@exame1093
@exame1093 3 года назад
Ophtus จะครอง RU-vid แล้วววว
@cherleenkhorreview
@cherleenkhorreview 3 года назад
อยากสอบถามนิดนึงครับ กรณีในหนังที่มีเวลาต่างกันในแบบทฤษฎีนี้ แต่ร่างกายคนนึงแก่ คนนึงหนุ่มเวลาเจอกัน เพราะอะไรครับ ผมพยายามหาข้อมูลแล้วไม่เจอ เมนท์ทุกช่องที่ทำเรื่องนี้ แต่ไม่มีใครมาตอบเลยครับ เวลากับชีวภาพทางร่างกายแก่ขึ้นจากคนละมุมมอง มันเพราะอะไรครับ หาคำตอบมาตั้งแต่หนัง interstellar แล้วครับ
@cherleenkhorreview
@cherleenkhorreview 3 года назад
ช่วยตอบด้วยนะครับ ไม่งั้นชีวิตนี้คงตายตาไม่หลับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
จริงๆ มันก็ตรงไปตรงมานะครับ ตัดความคิดเรื่องเวลาเป็นสิ่งสากลเท่ากันื้งจักรวาลออกไปก่อนครับ มันไม่ใช่เรื่องจริงของธรรมชาติ ความจริงคือ กระแสเวลาแต่ละที่ในจักรวาล ไหลเร็วไม่เท่ากัน การเปลี่ยนแปลงของทุกอย่างทุกอะตอมก็ติดอยู่กับกระแสเวลา ที่ไหนกระแสเวลาไหลเร็ว คนที่นั้นก็จะแก่เร็ว กว่าที่ที่เวลาไหลช้า (ถ้าเขากลับมาเทียบกันในกรอบอ้างอิงเดียวกันนะ) เหมือนห้องแห่งการเวลาในดรากอนบอลแหละครับ
@cherleenkhorreview
@cherleenkhorreview 2 года назад
@@curiosity-channel แต่ที่สงสัยก็คือถ้าตัดเรื่องเวลา และปัจจัยอื่นๆ ออกไปนอกเหนือจากกระบวนการเจริญเติบโตของร่างกายน่ะครับ ผมคิดว่าร่างกายคนเราจะแก่ลงเรื่อยๆ แต่ถ้าไปอยู่ในที่ ที่เวลาเดินช้า ทำไมกระบวนการในร่างกายมันแก่ช้าได้ครับ เซลล์ในร่างกายมันรับรู้ว่าต้องเจริญเติบโตช้าลง หัวใจเต้นช้าลง เลือดสูบฉีดช้าลง รึเปล่าครับ
@cherleenkhorreview
@cherleenkhorreview 2 года назад
หมายถึงถ้าตัดกรอบเรื่องเวลาออกไป ร่างกายมนุษย์มันรับรู้ได้อย่างไรครับ ว่าจุดไหนควรเติบโตแก่ช้ารึเร็วน่ะครับ
@veranonchannel6761
@veranonchannel6761 Год назад
@@cherleenkhorreview ก็เจ้าของช่องตอบไปแล้วนี่ครับ ว่าอะตอมและทุกสสารผูกยึดโยงกันกับกระแสเวลา
@teadsk1123
@teadsk1123 3 года назад
ในกรณีการอธิบายแบบใช้พิเศษ เพราะเวลาเป็นสิ่งสัมพัทธ์ เราสามารถมองว่า โลกเป็นฝ่ายมีความเร็วพุ่งออกและพุ่งเข้าหาจรวดแทนได้มั้ยคับ ถ้าเป็นแบบนั้นฝ่ายที่เเก่ช้าก็ต้องเป็นคนบนโลกสิ
@veranonchannel6761
@veranonchannel6761 Год назад
แต่สุดท้ายแล้ว คนที่เคลื่อนทีี ที่โดนเหวี่ยงจากความเร็ว คือคนบนจรวดครับ ถึงแม้จะมองเห็นโลกเคลื่อนออกห่างด้วยความเร็วเท่ากันก็ตาม
@siwabhongdhanabhad3568
@siwabhongdhanabhad3568 3 года назад
ฟังแล้วตามไม่ทันคับ เด๋วดูหลายๆรอบน่าจะเข้าใจดีขึ้น ขอบพระคุณมากครับผม
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
ก่อนอื่นเลย เกี่ยวกับปัญหาเรื่องนี้ ก่อนหน้านี้มีหลายๆเจ้าที่อธิบายผิดตั้งแต่ตัวParadox (ไม่ใช่คลิปนี้นะ คลิปนี้ผมโอเค) ปัญหามันไม่ใช่ว่า "ทำไมถึงมีคนนึงแก่กว่า" (หลายคน หรือแม้แต่ในหนังสือหลายเล่ม จะเกริ่นแค่นี้ แล้วแค่ยกสมการมาคำนวณแล้วก็จบ ปล่อยคนศึกษางงตึ๊บ) แต่เป็น "ใครกันแน่ที่จะแก่กว่า ในเมื่อทุกคนมีสิทธ์อ้างว่าตัวเองอยู่นิ่ง " เพราะ คนบนจรวดอาจจะอ้างว่า "เอ้ย คนบนโลกตะหากที่เดินทางไป-กลับ เทียบกับเราที่อยู่นิ่ง" มันเป็นปัญหาที่เกิดจากแนวคิดเรื่อง การเคลื่อนสัมพัทธ นั่นเอง เพราะจนปัจจุบัน ก็ไม่มีใครที่อ้างได้ว่าตัวเองอยู่นิ่งโดยสัมบูรณ์ของจักรวาล มีได้แต่เทียบกับสิ่งอื่นเท่านั้น ทุกคนมีสิทธ์อ้างได้ว่าตัวเองอยู่กับที่ ที่ของเราเอง ส่วนคำอธิบาย ขอแบ่งเป็น 3 ส่วน 1.ส่วนสัมพัทธภาพ"พิเศษ" จะอธิบายแค่ "ระหว่างที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v คงที่ ทั้งขนาดและทิศทาง" เมื่อขยับห่างออกจากกัน ต่างฝ่ายจะต่างเห็นนาฬิกาของตัวเองเดินเร็วกว่า (เพราะข้อมูลจากแหล่งที่ไกล้กว่า จะเดินทางมาถึงผู้สังเกตก่อนนั่นเอง) ดังนั้น ถ้าจรวดมันเดินทางออกห่างไปเรื่อยๆ ด้วย v คงที่ ไม่มีเลี้ยวกลับ ต่างฝ่ายก็จะเห็นตัวเองแก่เร็วกว่าอีกฝ่าย ไปเรื่อยๆ 2.ส่วนสัมพัทธภาพ"ทั่วไป" ซึ่งพัฒนาขึ้นทีหลัง จะอธิบายไปถึงสถานการณ์ที่เกิดความเร่ง a (และเอาไปเทียบกับความโน้มถ่วง (F หรือ g) ได้) กล่าวโดยสรุป คือฝั่งที่มีการเปลี่ยนแปลง v (ไม่ว่าจะขนาดหรือทิศทาง) เวลาจะผ่านไปช้ากว่า โดยในส่วนของผลลัพธ์สุดท้ายของปัญหา ที่ว่า "คนนึงจะแก่ช้ากว่า" นั้น ครั้งนี้ "ทั้งสองฝ่ายจะเห็นตรงกัน" ไม่ใช่ "ต่างฝ่ายต่างเห็นแบบของตัวเอง" แบบใน 1. คำที่ว่า"กรอบอ้างอิงเปลี่ยน" มันก็เปลี่ยนไปตามขนาดและทิศทางของ v นี่แหละ 3.แล้วเราตัดสินได้อย่างไร ว่าใครกันแน่ที่เปลี่ยนแปลง v ? ทำไมเราไม่สามารถอ้างว่า โลกก็ทำตัวเหมือนเป็นจรวด ที่เดินทางไป-กลับมาหาอีกคน ? ที่มาของคำตอบคือ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง v (หรือก็คือ มีความเร่ง a ) จะต้องมีแรง F เกิดขึ้นตามมาเสมอ (หรืออาจจะเรียกเป็นแรง g เพื่อความคุ้นเคยก็ได้) แบบที่เมื่ออยู่ๆเราเร่งความเร็วรถ เราจะถูกแรง g ผลักไปติดเบาะ เมื่อยิงจรวดออกนอกโลก นักบินอวกาศจะต้องรับมือกับแรง g ที่กดพวกเขาลงเบาะ ถ้าจะอ้างว่าคนบนจรวดอยู่นิ่งตลอด แปลว่าตลอดการเดินทางก็จะไม่มีแรง g เกิดขึ้นกับคนบนจรวดเลย แต่ไปเกิดกับคนบนโลกแทน (ซึ่งถ้ามันได้แบบนั้นจริง คนบนโลกก็จะแก่ช้ากว่าคนบนจรวดขึ้นมาจริงๆ และจะเป็นสถานการณ์ที่สุดขั้วกว่ามากๆ เหมือนนึกภาพโลกที่ติดไอพ่นยักษ์บินไปเป็นยานอวกาศ หรือถูกพระเจ้าจับเหวี่ยงไปมารอบจักรวาล ) แต่กรณีเซตติ้งของโจทย์หลัก มันก็บอกนัยๆมาแล้วว่าจรวดเป็นฝ่ายเดินทางไปตามปกติ คนที่จะได้รับแรง g มหาศาลก็คือคนบนจรวด คนบนจรวดเลยแก่ช้ากว่า ในตอนจบการเดินทาง ทั้งสองฝ่ายเห็นตรงกัน = ไม่เกิด Paradox พอเทียบความเร่งไปกับแรง g คนบนดาวเคราะห์ที่ความโน้มถ่วงสูง หรือคนที่ไปบินวนรอบไกล้ๆหลุมดำมา เลยจะแก่ช้ากว่าคนที่อยู่บริเวณที่ความโน้มถ่วงต่ำตลอดเวลา edit สรุปอีกรอบ จากโจทย์ ถ้าเราลำดับเหตุการณ์ให้ดูตรงกับความเป็นจริง จะเรียงตามนี้ -จรวดออกตัว เร่งความเร็วให้เข้าไกล้ความเร็วแสง (c) เกิดผลตามข้อ 2. คนออกตัว จะได้รับแรง F ไป และแก่ช้ากว่า -จรวดเดินทางไปด้วย v คงที่ เกิดผลตามข้อ 1. ต่างฝ่ายต่างเห็นนาฬิกาอีกฝ่ายหมุนช้ากว่าตัวเอง -จรวดเลี้ยวกลับมาโลก เกิดผลตามข้อ 2. คนที่เลี้ยว จะได้รับแรง F ไป และแก่ช้ากว่า -จรวดเดินทางกลับด้วย -v คงที่ เกิดผลตามข้อ 1. แต่เพราะคราวนี้เดินทางเข้าหากัน ผลจะตรงข้ามกัน คือต่างฝ่ายต่างเห็นนาฬิกาอีกฝ่ายหมุนเร็วกว่าตัวเอง -จรวดเบรคเพื่อลงจอด เกิดผลตามข้อ 2. คนที่เบรค จะได้รับแรง F ไป และแก่ช้ากว่า รวมสุทธิจนจบเรื่อง ฝั่งที่เดินทางบนจรวด มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วมหาศาลหลายครั้ง เวลาของฝั่งที่เดินทางบนจรวด เลยจะเดินไปน้อยกว่านาฬิกาของคนที่อยู่นิ่งๆบนโลกตลอด
@teadsk1123
@teadsk1123 3 года назад
คือ สรุปว่าถ้าจะไม่ให้ต่างคนต่างอ้างว่าตัวเองหยุดนิ่งต้องใช้ทั่วไปอธิบายเท่านั้นหรอคับ แล้วทำไมpararadox( ที่ไม่paradox)นี้ถึงมีการอธิบายโดยแบบใช้พิเศษอะคับ
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
@@teadsk1123 ถ้าใช้พิเศษอธิบาย มันก็ได้ในทางตัวเลข แต่จะเป็นสถานการณ์สุดขั้วเวลาคิดให้ตรงกับความเป็นจริงขึ้นครับ อย่างที่บอก เพราะเดิมทีสัมพัทธภาพพิเศษ มันออกแบบมาเหมาะสำหรับอธิบายในโจทย์กรณีที่ v คงที่ ทั้งขนาดและทิศทาง แต่ปัญหาที่เรากำลังหาคำตอบอยู่นี้ v มันไม่คงที่ตลอดแน่ๆ (เพราะแค่มีการเลี้ยวกลับไปโลก ก็ถือว่าเปลี่ยนทิศทาง v ไปเป็น -v = เปลี่ยนกรอบอ้างอิงแล้ว) ก็คือถ้าจะลองพยายามคำนวณด้วยสัมพัทธภาพพิเศษจริงๆ แปลว่าเราถือว่า "การเลี้ยวของจรวด เกิดขึ้นแบบทันทีทันได ด้วย F = infinity " แต่อาจจะแกล้งทำเป็นปล่อยเบลอ มองข้ามส่วนนี้ไปเพื่อคำนวณที่เหลือต่อจนจบ แล้วจะพบว่าคนที่เปลี่ยนแปลงกรอบอ้างอิงนั้นแก่น้อยกว่า แต่หลักการตัดสินก็เหมือนเดิมครับ คือคนที่เป็นฝ่ายเปลี่ยนแปลงกรอบจริงๆ จะเป็นฝ่ายที่เวลาเดินทางช้ากว่า (ผลที่ตามมาในที่นี้ คือต้องเจอกับ F = infinity กระแทกไปหลายรอบ เนี่ย พอคิดแบบนี้ แค่ไม่ตายจนจบการเดินทางก็บุญโขแล้ว ) สรุปว่าจะใช้พิเศษหรือทั่วไป ต่างกันแค่ว่าคุณอยากอธิบายว่า "คนบนจรวดรับแรง(อนันต์) จากการกลับทิศจาก v เป็น -v เวลาจึงผ่านไปน้อยกว่า" หรือ "คนบนจรวดรับแรงไปปริมาณหนึ่ง จากการค่อยๆเปลี่ยน v เป็น -v เวลาจึงผ่านไปน้อยกว่า" ในทางปฎิบัติ ใช้สัมพัทธภาพทั่วไป อธิบายไปเลย มันก็ไม่ได้น่าเกลียดอะไรครับ ออกจะตรงกับความเป็นจริงมากขึ้นด้วยซ้ำไป เดิมทีโจทย์มันก็ไม่ได้ระบุขนาดว่านี่เป็นจรวดพิเศษเหนือกฎพิสิกส์อะไรด้วย
@ปืนใหญ่เมืองคอน
@@cheerosukolpat3154 เรื่องอายุใครแก่กว่า ใช้อายุของเม็ดเลือดเป็นเกณฑ์ได้ครับ เพราะมันมีอายุ 120 วัน จากทฤษฎีจะผมว่านายบีเปลี่ยนวงรอบเม็ดเลือดในจำนวนรอบที่น้อยกว่านายเอ แสดงว่าร่างกายของนายเอที่อยู่บนเสื่อมไปเร็วกว่าครับ
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
@@ปืนใหญ่เมืองคอน พอเข้าใจอยู่นะครับ อนึ่ง "อายุของเม็ดเลือด" เองก็เป็นนาฬิกาประเภทหนึ่งครับ "จำนวนรอบการแบ่งตัวของเซลล์ในร่างกาย" ก็นับเป็นนาฬิการูปแบบหนึ่งเช่นกัน แต่อยากให้นึกว่า Paradox นี้ มันเกิดจากคนหัวใสถามขึ้นมาว่า "ใครกันแน่ ที่จะมีการเปลี่ยนวงรอบเม็ดเลือดไปน้อยกว่ากันแน่ ในเมื่อแต่ละคนอ้างได้ว่าตัวเองอยู่นิ่ง" คนถามต้องการสิ่งยืนยัน ที่จะสามารถรู้ได้ตั้งแต่ระหว่างการเดินทาง หรือตั้งแต่การเซตติ้งโจทย์ครับ ต้องแยกให้ได้ว่าใครกันแน่ ที่นาฬิกาจะช้ากว่า หรือ ทำไมต้องเป็นคนนี้เท่านั้น ที่ช้ากว่า ผ่านกลไกอื่น นอกจากการรอติดตามนาฬิกา ถ้าจะบอกว่าวัดรอบเม็ดเลือดก็จบ ในทางเทคนิค อาจจะไม่ต่างอะไรกับการบอกว่า"ดูนาฬิกาที่แต่ละคนพกติดตัว ก็จบ" ตอบแค่นั้น คนที่ถามคำถามขึ้นมาอาจจะไม่พอใจครับ มันก็แค่การโยกไปดูนาฬิกาอีกชนิดเท่านั้นเอง ปล. พอมาคิดๆดู ถ้าเอานาฬิกาแบบกำปั้นทุบดิน ถ้าการเดินทางอยู่ในช่วงไม่กี่เดือน/ปี แบบนั้นดูความยาวผมก็ยังได้นี่นะ เรียกให้สวยๆก็จำนวนรอบของการแบ่งเซลล์ ถถถถ+
@paul_oreo6683
@paul_oreo6683 3 года назад
ยินดีกับช่องด้วยครับที่มีสปอนเซอร์​เข้าแล้ว
@The_Ends.
@The_Ends. 2 года назад
แล้วถ้าเราติดกล้องให้นายAและนายB มอนิเตอร์กันได้ตลอดเวลาล่ะครับ
@มาราธอนอุดรธานี
อธิบายได้ละเอียดมากครับ อีกนิดนึงผมจะเข้าใจล่ะ ติดที่สมองผมยังไม่ถึงนี่เอง 555
@waarc22
@waarc22 3 года назад
ตราบเท่าที่ผู้คนยังแบ่งและแยก"เวลา"ออกจาก"การเคลื่อนที่" ก็จะฉงนงงงวยร่ำไป ทั้งที่ความเป็นไปในความรับรู้ทางผัสสะมนุษย์นั้น "เวลาเป็นผลสัมพัทธ์ของการเคลื่อนที่" หรือ การเคลื่อนที่เป็นเหตุสัมพัทธ์ของเวลา มันไม่ใช่ของที่จะแยกกันได้เลย
@ปิยราชสัมมาชีพ
ขอเพิ่ม ความโน้มถ่วง มวล และพื้นที่เข้าไปด้วยครับ
@ภาคีฟินิกซ์-ญ1ห
ขยายความได้ไหมครับ ไม่ค่อยเข้าใจครับ
@Prasa_Yiaedin
@Prasa_Yiaedin 3 года назад
ตามหลักการดังกล่าว คือการแยกการเคลื่อนที่ของเวลาออกจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ วัตถุเคลื่อนที่ไวจะทำให้เวลาเคลื่อนที่ช้าลง วัตถุเคลื่อนที่ช้าจะทำให้เวลาเคลื่อนที่ไวขึ้น เขามองว่าเวลาก็คือสิ่งที่กำลังเคลื่อนที่ไปในค่าความเร็วเท่าแสง และเมื่อเราซึ่งเป็นวัตถุสามารถเคลื่อนที่ไปได้ด้วยความเร็วเท่าแสงเวลาก็จะเท่ากับหยุดนิ่งเพราะความเร็วของเวลาสัมพัทธ์กับความเร็วของวัตถุที่ค่าความเร็วเท่ากันคือเท่ากับความเร็วแสง นี่พูดกันตามในทฤษฏีนะครับ
@Prasa_Yiaedin
@Prasa_Yiaedin 3 года назад
แต่ในหลักของความเป็นจริงแล้ว ความไม่รู้ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับกลไกการทำงานของเวลาและมิติต่างๆที่มีอยู่ของเวลานั้น มันเป็นตัวทำให้มนุษย์มองเห็นคำอธิบายต่างๆแบบคนตาบอดคลำช้างแล้วพยายามบอกว่าช้างมีรูปร่างเป็นแบบโน้นแบบนี้ไปตามความรู้สึกที่ได้รับมาจากการคลำไปตามส่วนต่างๆบนตัวของช้าง
@Prasa_Yiaedin
@Prasa_Yiaedin 3 года назад
ทฤษฏีที่เป็นเครื่องมือสร้างความเข้าใจของมนุษย์ก็เป็นส่วนผสมที่มาจากการสร้างสมมุติฐานและการทดลองต่างๆที่ให้ความรู้สึกตามค่าต่างๆที่ได้รับจากการทดลองในรูปแบบของสมมุติฐานต่างๆแล้วมาบวกเข้ากับองค์ความรู้ที่มีสะสมและตกผลึกขึ้นมาอยู่ในรูปของสมการความรู้ทางการคำนวนค่าต่างๆเท่านั้น ซึ่งทั้งหมดนั้นมาจากความรู้สึกล้วนๆ โดยจำแนกออกมาเป็นความรู้สึกว่าใช่กับความรู้สึกว่าไม่ใช่อยู่บนฐานของสิ่งที่พยายามหามาอ้างอิงกันเท่านั้น
@ooJ0Eoo
@ooJ0Eoo 3 года назад
ยินดีด้วยครับ สปอยเซอรเข้าแล้ว 😁😁
@BP-gt5iy
@BP-gt5iy 3 года назад
ชอบมากๆเลยครับฟังสนุกมากเลย
@pittayach291
@pittayach291 3 года назад
อายุต่างกัน แต่ความแก่จะต่างกันไหมครับ หมายถึงการเสื่อมของร่างกาย
@ปืนใหญ่เมืองคอน
ความเสื่อมผมว่าไม่เท่ากันครับ ใช้อายุของเม็ดเลือดเป็นเกณฑ์ได้ครับ เพราะมันมีอายุ 120 วัน จากทฤษฎีจะผมว่านายบีเปลี่ยนวงรอบเม็ดเลือดในจำนวนรอบที่น้อยกว่านายเอ แสดงว่าร่างกายของนายเอที่อยู่บนเสื่อมไปเร็วกว่าครับ
@โรตีมิวสิค
@โรตีมิวสิค 2 года назад
แกล้งทำเป็นเข้าใจ แต่อยากดู555
@นายมนูญทิตย์วัลลี
ขายที่ไหน
@chin_kun
@chin_kun 2 года назад
สมมุติว่า การทดลองนี้ทำการทดลอง ใช้เวลา 50 ปี โดยทั้งคู่อายุ 20 ปี ก่อนเริ่มทดลอง *หลังจากทดลองเสร็จแล้ว โดยเวลาของคนที่อยู่บนอวกาศนับได้ 20ปี เวลาของคนบนโลกนับได้ 50 ปี //// คนบนโลกจะเป็นคุณตาวัย 70 แล้วคนบนอวกาศจะเป็นคนลงวัย 40 รึป่าวครับ หรือว่าต่างกันแค่อายุคำนวณ ผมไม่รู้จะ เรียกอะไรเหมือนกัน... หมายถึงอายุที่เป็นตัวเลขไม่ใช่อายุขัยจริงๆอะครับ
@chin_kun
@chin_kun 2 года назад
สมมุติว่าต่างกันที่อายุขัยจริงๆ แสดงว่าการเดินทางไปถึง 100 ปีข้างหน้า โดยใช้เวลาครึ่งเดียวหรือน้อยกว่าก็สามารถทำได้จริงๆสินะครับ
@suporogamer
@suporogamer 3 года назад
มาแล้วว OPTHUS
@AvangelinEX
@AvangelinEX 3 года назад
สปอนเข้าแล้ว ดีใจด้วยครับ
@AvangelinEX
@AvangelinEX 3 года назад
ผมสงสัยนิดนึง มุมในกราฟส่งสัญญาณของนาย A กับ นาย B ที่ออกมาตามเส้นสีแดงกับเขียวคำนวนยังไงเหรอครับ
@Evynut
@Evynut 3 года назад
สำหรับคนที่ต้องรอ เวลามักจะเดินช้าเสมอครับ 😢😢😢
@สุภารัตน์แสนยานุสิน
งือ.... เอ็นดู^^
@AtheistThailand
@AtheistThailand 6 месяцев назад
ในทางสูตรคำนวนได้ตัวเลขไม่เท่ากัน ในทางกายภาพเอาจริง มันจะแก่ต่างกันมั้ย
@nattapongchailim3716
@nattapongchailim3716 3 года назад
เราใช้วิธ๊การแบบไหนในการวัดปริมาณของเวลาระหว่างนาย A กับ นาย B ครับ หรือสามารถตรวจอายุไขของสิ่งมิชีวิตได้จากวิธีไหนบ้างครับ ถึงจะทราบว่านาย A กับนาย B อายุไม่เม่ากันครับ
@muggle3153
@muggle3153 3 года назад
ใช่ครับคิดเหมือนกัน สงสัยเหมือนกันเลยครับว่าใช้มาตราวัดอะไรที่เห็นเป็นรูปธรรมในการวัดว่าอายุไม่เท่ากัน
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
เอานาฬิกามาเทียบกันครับ นาฬิกาอะตอมที่ว่าคงที่สุดๆนี่แหละ ยังไงก็รับผลจากสัมพัทธภาพอยู่ดี เพราะเดิมทีเราไม่เคยวัดเวลาของจักรวาลโดยตรงได้จริงๆอยู่แล้วครับ เราได้แต่วัดเวลาผ่านข้อมูลทางฟิสิกส์อื่นๆ
@ปืนใหญ่เมืองคอน
ใช้อายุของเม็ดเลือดเป็นเกณฑ์ได้ครับ เพราะมันมีอายุ 120 วัน จากทฤษฎีจะผมว่านายบีเปลี่ยนวงรอบเม็ดเลือดในจำนวนรอบที่น้อยกว่านายเอ แสดงว่าร่างกายของนายเอที่อยู่บนโลกเสื่อมไปเร็วกว่าครับ นายเอ ใช้เวลา 10 ปีผ่าน เปลี่ยนเม็ดเลือดไป 40 รอบ นายบี ใช้เวลา 6 ปีผ่าน เปลี่ยนเม็ดเลือดไป 24 รอบ นั้นแสดงว่าร่างกายนายบียังมีอายุเซลล์ที่หนุ่มกว่านายเอ
@panyawatst6864
@panyawatst6864 3 года назад
อ่านชื่อคลิป -> No ดูรูปThumbnail -> No แจ้งเตือนแล้วกดเข้ามาฟังเลย -> Yes ดูไว้ก่อน เรื่องไรไม่รู้ แต่คุณภาพและตรงจริตความสนใจแน่ ๆ กราบ Chanel นี้ 🙇‍♂️🙇‍♂️🙇‍♂️
@non_na
@non_na 3 года назад
ผมนี้อยากเดินทางข้ามเวลาอีกรอบเลย
@parunyu7470
@parunyu7470 3 года назад
อารมณ์เหมือนที่เราเรียนกันมาว่าแสงจากดวงอาทิตย์เดินทางถึงโลกใช้เวลา8นาที ฉะนั้นถ้าบนดวงอาทิตย์มีการเคลื่อนไหวของอะไรบางอย่างภาพนั้นก็เดินทางมาหาเราที่อยู่บนโลกเท่ากับความเร็วแสง8นาทีเช่นกัน ถ้าเราเดินทางย้อนแสงนั้นภาพนั้นก็จะต้องมีการเคลื่อนไหวที่เร็วขึ้นในสายตาเราและจะช้าลงในจังหวะที่เราหน่วงความเร็วนั้นจนยืนอยู่บนดวงอาทิตย์ทำให้เราอยู่ในจุดอ้างอิงเดียวกันกับการเคลื่อนไหวนั้นที่เรามองเห็นจากโลกและอยู่ในห้วงเวลาเดียวกัน อันนี้เป็นแบบเชิงตรรกะมุมมองนะครับ
@ปืนใหญ่เมืองคอน
อันนี้คนละเรื่องกับคลิปแล้วครับ คุณต้องทำความเข้าใจใหม่
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
ข้อความแอบงงๆ แต่คิดว่าคงเก็ทเรื่องที่ว่า "ข้อมูลที่ใช้บอกเวลา ก็ต้องใช้เวลาเดินทาง" สินะครับ ซึ่งมันก็เป็นแนวคิดส่วนเริ่มต้นของสัมพัทธภาพพิเศษแล้วแหละครับ วาดแผนภาพตามแนวคิดนั้น เป็นสามเหลี่ยมพีธากอรัส แล้วจัดสูตรย้ายข้าง ก็จะได้สูตร Time dilation ของสัมพัทธภาพพิศษ ที่พวกอาจารย์ชอบเอามาให้เด็กท่อง (โดยไม่บอกที่มา ถถถถ+)
@parunyu7470
@parunyu7470 3 года назад
ปืนใหญ่ เมืองคอน ผมเทียบในเชิงตรรกะมุมมองครับ มันก็น่าจะประมาณนี้เพราะจุดอ้างอิงคนละแห่งคนละสภาพแวดล้อม เวลาย่อมมีผลต่อมุมมองซึ่งมุมมองต้องอาศัยโฟตอนของแสง อาจจะไม่ถูกทีเดียวครับ แต่มันเข้าสู่วิธีการมองแบบสัมพันธภาพพิเศษอย่างหยาบๆ
@มาราธอนอุดรธานี
ถูกครับ เรื่องนี้มันค้านกับสามัญสำนึก ต้องค่อยๆอธิบายให้คนเข้าใจแบบคร่าวๆก่อนดีแล้วครับ
@parunyu7470
@parunyu7470 3 года назад
Cheero Sukolpat คือผมคิดว่าน่าจะเทียบเคียงหยาบๆได้ประมาณนี้อ่ะครับ มันคือมุมมองที่ต้องใช้เวลา แล้วมุมมองนั้นต้องอาศัยโฟตอนของแสงที่เดินทางมาตกกระทบดวงตา ประมาณว่าถ้าสัมพัทธภาพแบบทั่วไปบนโลกกับระดับจักรวาลมันเพิ่มกันตรงที่ระยะเวลา คือผมเองก็ไม่ได้เก่งฟิสิกส์แล้วก็ไม่ได้เรียนนานมากแล้ว แต่พยายามนึกภาพตามเพื่อไม่ให้ความคิดตัวเราติดอยู่ในกรอบฟิสิกส์นิวตัน
@kittitonbunyarit5610
@kittitonbunyarit5610 3 года назад
อยากให้ทำคลิปอธิบายว่าทำไมวัตถุใดๆเข้าใกล้ไฟจึงร้อน อธิบายด้วยทฤษฎีควอนตั้ม
@poonsakboonmak2709
@poonsakboonmak2709 3 года назад
ถ้าเราใช้ความเร็วจากนาฬิกาไขลานเป็นตัววัด ของใครA หรือ Bจะได้ตรงตามนาฬิกาครับ
@bikefordad2515
@bikefordad2515 3 года назад
จากทฤษฎีที่เขาอธิบาย หากใช้นาฬิกาแบบเดียวกัน2เรือน แล้วแบ่งขึ้นไปกับจรวดด้วย พอกลับมายังโลก แล้วเอานาฬิกา2เรือนมาเทียบกัน ผลเวลาจะออกมาไม่เท่ากัน
@poonsakboonmak2709
@poonsakboonmak2709 3 года назад
@@bikefordad2515 ขอบคุณครับ
@อยากกินกระเพราหมูกรอบไข่ดาวเ
อย่ามาขายกันด้วยวิทยาศาสตร์เเบบเน้5555 ความน่าเชื่อถือ + 100%
@dnamadman944
@dnamadman944 3 года назад
ตายแล้วไปไหนครับ ไปบนอวากาศป่ะ หวังว่าคงไม่ลงใต้น้ำนะ
@wut9042
@wut9042 3 года назад
เหมือนเรามาคุยกันว่ามีถ้ามีเงินพันล้านจะเอาไปทำอะไร แต่ยังไม่รู้ว่าจะทำอย่างไรให้มีเงินพันล้าน
@veranonchannel6761
@veranonchannel6761 Год назад
อันนี้เหมือนเป็นการอธิบายว่าทำไมคนที่เคลื่อนที่เร็ว เวลาถึงเดินช้ากว่า ไม่ได้อธิบายเกี่ยวกับ paradox เลย ว่า ถ้าคนบนยานมองว่า โลกนั่นแหละที่เคลื่อนที่ออกห่างไป ฉะนั้นคนบนโลกต้องแก่ช้ากว่า ไม่ได้อธิบายเกี่ยวกับข้อนี้เลยนี่ครับ สุดท้ายก็ยังไม่รู้ว่า ทำไมถึงไม่ใช่ paradox
@squidprogrammer
@squidprogrammer Год назад
ก็เพราะว่าตัวปัญหามันคือการที่เขาตัดเรื่องการหดของระยะที่จะเกิดขึ้นกับผู้เคลื่อนที่ออก แล้วก็ใช้การอธิบายแบบสัมพัทธภาพพิเศษ มันเลยเกิดข้อขัดแย้งขึ้น ในคลิปก็เลยเอาการอธิบายแบบทั่วไป หรือไม่ก็ใช้แบบพิเศษแต่แค่เติมตัวแปรของระยะทางเข้ามา มันเลยทำให้ paradox ที่เกิดจากการที่ไม่ใส่สมการหรือตัวแปรให้ครบถ้วนในสมมติฐานตั้งแต่แรก ปกคลิปเลยบอกว่ามันเป็นparadox ที่ไม่ใช่ paradoxครับ หรือก็คือเกิดจากความไม่รอบคอบแล้วตีโพยตีพายว่ามันมีข้อขัดแย้งนั่นแหละ
@rtkihorner2896
@rtkihorner2896 3 года назад
เข้ ผมเข้าใจทุกฉากทุกตอนที่พี่อธิบายเลย สุดยอด
@mixmarcus2740
@mixmarcus2740 3 года назад
อยากฟังเรื่อง ดาวนิวตรอน ครับ
@40e.x.e52
@40e.x.e52 3 года назад
รออยู่เลยครับ
@สุทธิศักดิ์วศินทรัพย์
คล้ายกับตอนนี้มี่ เรา ปั่นจกย. ขึ้นเขา อย่างช้า ตอนกลับมาอย่างไว
@cgpruesadee8361
@cgpruesadee8361 2 года назад
ผมจะยกตัวอยากที่ผมสงสัยนะครับ ถ้ามีสิ่งของหนึ่งเคลื่อน เอาเป็นโลกก็แล้วกัน ชายที่ออกเที่ยวนอกโลกด้วยความเกือบเท่าแสงแล้วกับมายังโลกใช่เวลา10เดือน แต่คนในโลกผ่านไป20ปี ถ้า20ปีโลกเราอาจจะเคลือนที่ไปใกล้มากแต่10เดือนโลกจะเคลือนที่ไปแค่ไม่ใกล ชายที่ไป10เดือนก็ต้องเห็นโลกต่างจากคนที่อยู่ที่โลก20ปีรคป่าวมหรือชาย10เดือนนั้นจะข้ามาอนาคตครับ หน้าจะข้ามไปอนาคตแหละ
@cgpruesadee8361
@cgpruesadee8361 2 года назад
เอาง่ายๆครับผมเข้าใจวไปว่า มันอยู่ในเวลาเดียวกัน มันมีโลก20ปีกับโลก10เดือน พอชาย10เดือนกับมาก็ต้องเห็นโลกในเวลาของตัวเองคือ10เดือน แต่โลกผ่านไป20 เขสจะเห็นแบบ10เดือนได้ที่แล้วได้ยังไงผมเลยงง คือชายคนนั้นวาปไปไป20ปีเลย
@อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ
พี่มีครับผมสามารถต่อได้แน่ครับผม😅
@9petch536
@9petch536 3 года назад
พี่ทำเรื่องของจักรวาลคู่ขนาน
@oydgiupowmp1
@oydgiupowmp1 3 года назад
ผมชอบวิธีขายของครับ
@ศิวรันชินบัญชร
....เวลา...มันเป็นเรื่อง...ของใครของมัน ถ้าแฝดเหมือน ๒ คน...มีเหตุปัจจัย...ที่แตกต่างกัน ในการเดินทาง. คนหนึ่ง...เดินด้วยเท้าจากจ.ร้อยเอ็ด ตากแดด ตาก ลม อิ่มบ้าง อดบ้าง...กว่าจะถึงกรุงเทพ ใข้เวลานาน...นานกว่าอีกคนหนึ่ง...ที่เดินทาง...ด้วยเครื่องบินแค่ 40นาที. ....รูปร่างใคร จะดูแก่กว่ากัน . ไม่ต้องไปนอกโลกนะ...แค่ในโลกในประเทศไทยนี้...ก็แตกต่างกันแล้ว. ....บนสวรรค์ขั้นดาวดึงส์(สมมติว่าเป็นโลกต่างดาว ดวงหนึ่ง)...พระพุทธเจ้าไปเทศนาธรรม ให้มารดาเทพบุตรฟัง แค่ประเดี๋ยวเดียว แต่พอลงมาวันออกพรรษา คือวันเปิดโลก...เวลาล่วงเลยมาได้ ๓ เดือน พอดี.
@ekkarartbt
@ekkarartbt 3 года назад
แว่น โดดเด่นดีครับผม 5555
@Pokpong_20
@Pokpong_20 2 года назад
10:27 นายAเห็น นาย B สามารถเคลื่อนที่เร็วกว่าแสงหรอครับ
@chaninharn7997
@chaninharn7997 2 года назад
ดีมากครับบบบบ ชอบมากกก
@meowkungIsc
@meowkungIsc 3 года назад
มิน่าตอนเดินทางกลับบ้านรู้สึกเร็วกว่าตอนออกเดินทาง แท๊ม!!
@Spadeza1
@Spadeza1 3 года назад
แค่เริ่มคลิป ผมก็รู้แล้วครับว่า OPTHUUUSSSss s s !!!
@UtenFm
@UtenFm 2 года назад
นาย บี กู้เงืนนาย เอ 1 หมื่นบาท ดอกร้อยละยี่ ต่อเดือน เมื่อกลับถึงโลก นายบี ต้องใช้หนี้เท่าไร
@escabeauxtogo5145
@escabeauxtogo5145 3 года назад
ชอบๆทำไปเรื่อยๆเป็นเพื่อนกัน
@abOlizere
@abOlizere 3 года назад
เจ๋งมากๆเลยครับ
@tkbababa4181
@tkbababa4181 3 года назад
เเค่ปก ผม : รังสีนี้มัน o p h t u s (แต่นี่มันคือคลิปแรกที่เคยเห็นคนขายแว่น เเบบ ค ว า ม รู้ )5555
@T_W_M
@T_W_M 3 года назад
OPTHUS ไปทั่วจริงๆ🤣
@สุขสันต์ศรีโนนยาง
FC ครับ
@วิโรจน์เปี่ยมวิริยะ
คนบนโลกอยู่กับความโน้มถ่วงโลกตลอดเวลาเลยนะ แต่คนเดินทางจะเจอความเร่งหน่วงแค่ตอนออกจากโลกและตอนวกกลับ คนบนโลกจึงน่าจะได้รับแรงโน้มถ่วงมากกว่าหรือเปล่าครับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
ใช่ครับ มันเป็นความโน้มถ่วงส่วนเพิ่มมหาศาล ขนาดเปลี่ยนไปใกล้ความเร็วแสงได้ ค่าเลยต่างกันเยอะมาก
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
เนื่องจากตามโจทย์นี่ คนเดินทางจะใช้ความเร็วเข้าไกล้ความเร็วแสง (c) แปลว่าแรงทั้งหมดที่ใช้เร่ง-เลี้ยวจรวด มันก็มหาศาลมากครับ มากกว่าคนที่รับแรง g อยู่บนโลกเฉยๆ
@fomeo
@fomeo 2 года назад
เวลาเป็นเพียงหน่วยย่อยระยะทางที่ดาวเคราะห์ดวงนั้นโคจรรอบดาวฤกษ์ ทีนี้มันน่าสนใจตรงที่คนที่เดินทางออกจากโลกไปแล้วจะใช้อะไรอ้างอิงเวลาได้เพราะตนไม่ได้อยู่บนโลก ฉะนั้นการเดินทางระดับปีแสงบนโลกอาจเป็นระยะทางที่ไม่มากนักสำหรับการเดินทางในอวกาศ ร่างกายผู้นั้นจะแก่ลงไหมไม่สามารถทราบได้เพราะเจอสภาพแวดล้อมคนละแบบกับบนโลก อย่าจริงจังมากผมมั่ว
@voradaNaddhamon
@voradaNaddhamon 3 года назад
รอ เรือ ชัดเจนมาก เป็นตัวอย่างที่ดีของคนใช้ภาษา ความเล่ง เลา เพลาะว่า เลื่องนี้ จลวด หลือ ปรายทาง ความเล็ว ไปกรับ ละยะทาง คงเป็น เลื่องประหราด
@hiddenota48
@hiddenota48 3 года назад
ขนาดขายแว่นยังเป็นวิทยาศาสตร์ 555
@Chinjangkrem
@Chinjangkrem 2 года назад
มันก็ยังมองว่าคนบนโลก เป็นฝ่ายเปลี่ยนความเร่ง/หน่วงได้อยู่ดีนิ แล้วจะอธิบายยังไง
@squidprogrammer
@squidprogrammer Год назад
เวลาคนอื่นขับรถออกห่างจากคุณ คุณไม่รู้สึกถึงแรงที่ทำให้เกิดความเร่งนะครับ มีแค่คนขับรถที่สัมผัสถึงแรงที่ทำให้เกิดความเร่งเท่านั้น คุณก็อยู่เฉยๆไม่ได้รู้สึกอะไร จนกว่าคนๆนั้นจะหยุดความเร่ง คุณถึงจะอยู่ในกรอบความเร่งเดียวกัน แล้วคุณกับเค้าค่อยมารู้สึกว่า ตัวเองหยุดนิ่งส่วนอีกฝ่ายเคลื่อนที่
@Chinjangkrem
@Chinjangkrem Год назад
@@squidprogrammer ok เก็ทละ ขอบคุณคับ
@pranot22032010
@pranot22032010 2 года назад
เวลาช้าหรือเร็วมันไม่ได้เกี่ยวกับการเจริญเติมโตของร่างกาย ช้าเร็วแค่ไหนร่างกายก็เจริญเติบโตเท่าๆกัน คือความแก่ของร่างกายเท่ากัน แต่จะต่างแค่อายุที่เป็นตัวเลข
@พงษ์ศักดิ์ผลเจริญ
ใช่คับ ผมก็ว่าอย่างนั้น ความแก่ไม่แก่โดยเนื้อหนังจึงต้องตัดออกไป เหลือแต่ตัวเลขมาหักล้างกัน
@อนุจิตย์ศิริสถิตย์-ด7ฟ
ได้ครับผม
@blameblame9057
@blameblame9057 3 года назад
ผมนี่ลุ้นอยู่ ว่าจะเชื่อมเนื้อหากับ opthus ยังไง 555
@นายมนูญทิตย์วัลลี
ราคาเท่าไร่
@harryjcy4500
@harryjcy4500 3 года назад
ปกติคลิปอื่นไม่งง แต่คลิปนี้ งงกันเลยที่เดียวเชียว ตอนหลังๆ
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
ใช่ครับ อธิบายให้ไม่งง ยากมากเลย ผมถึงต้องย้ำใรคบิปว่าต้องย้อนดูกันสักหน่อย
@narinthongseubsai7263
@narinthongseubsai7263 2 года назад
เยี่ยม
@ณธกรชลสิทธิ์
มาแล้วครับ หลังจากเฟสล่ม555555
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
เฟสล่ม เราเลยมีสมาธิทำงานไง 5555
@ณธกรชลสิทธิ์
@@curiosity-channel ಡ ͜ ʖ ಡ
@tanakornnaumnoo6190
@tanakornnaumnoo6190 3 года назад
แว่นมาแล้ว เย้ๆ
@vaipom
@vaipom 3 года назад
ที่ผมไม่เข้าใจก็คือ เราจะเทียบความเร็วจากอะไรครับเพราะทุกอย่างมันสัมพัทธกันหมด ไม่มีความเร็วที่แท้จริง แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าอะไรเร็วกว่ากัน
@vaipom
@vaipom 3 года назад
หรือต้องเทียบกับกรอบอ้างอิงเดียว แล้วหากเราเทียบเหตุการณ์เดียวกันในกรอบอ้างอิงอื่น เวลาที่ต่างกันนั้นมันจะยังเท่าเดิมรึเปล่า
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
เทียบกับความเร็วแสงครับ แสงคือสิ่งที่มีค่าเท่ากันทุกกรอบอ้างอิงครับ
@vaipom
@vaipom 3 года назад
@@curiosity-channel ใช่ครับ แต่เมื่อเราเทียบกับความเร็วแสง ก็เท่ากับว่าทุกกรอบอ้างอิงที่สังเกต ก็มีความเร็วเท่ากับ 0 ทั้งหมด ก็เท่ากับว่าเวลาที่ต่างกันเป็นเพียงเวลาที่ต่างกันของผู้สังเกตในกรอบอ้างอิงตนเองเท่านั้น
@cheerosukolpat3154
@cheerosukolpat3154 3 года назад
@@vaipom ว่าตามโจทย์ ก็เทียบให้โลกเป็นกรอบเฉื่อย นับว่าอยู่นิ่งไปเลยครับ ถึงเวลาเดินทาง โลกจะยังไม่หยุดหมุนรอบดวงอาทิตย์ และดวงอาทิตย์ยังไม่หยุดควงสว่านรอบกาแลกซี ก็ตาม แต่พอเทียบกับยานที่เดินทางเข้าไกล้ความเร็วแสง เทียบสเกลขนาดนั้น ผลก็แทบไม่ต่างกับการเทียบของที่อยู่นิ่งๆอยู่ดีครับ (ผลอาจจะห่างกันหลักเศษทศนิยม ไม่มีนัยยะสำคัญพอจนเราปัดทิ้งไปอยู่ดี) ______________________________ "ไม่มีความเร็วที่แท้จริง แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าอะไรเร็วกว่ากัน" -ไม่มีปัญหาครับ เพราะเงื่อนไขจริงๆที่เราต้องการในการคำนวณสัมพัทธภาพ นั้นไม่ใช่ความเร็วสัมบูรณ์ (ยังไงก็หาไม่ได้อยู่ดีนี่นะ) ส่วนที่เป็นสัมพัทธภาพพิเศษ เราต้องการรู้เพียง v สัมพัทธ ระหว่างสองผู้สังเกต (อนึ่ง ต้องแยกระหว่าง "v ที่โจทย์กำหนด" กับ "v ที่คนบนโลกจะวัดได้" ออกจากกันก่อนนะ เช่น โจทย์กำหนดว่าดาวห่างไป 1 ปีแสง จรวดเดินทางด้วยความเร็ว c/2 ในมุมมองของโจทย์ คือคนเดินทางก็จะใช้เวลา 2 ปี แล้วสิ่งที่คนบนโลกจะเห็น ก็จะช้าลงไปกว่านั้นอีก ไม่ได้เห็นจรวดเดินทางถึงใน 2 ปีพอดีแน่ๆ) ส่วนที่เป็นสัมพัทธภาพทั่วไป เราต้องการรู้การเปลี่ยนแปลง v สัมพัทธ ที่ว่า อันนี้วัดจากแรงที่จะเกิดขึ้นก็พอ ถึงไม่รู้ v สัมบูรณ์ แต่ ต่อให้เทียบแบบส่งๆไปว่าโลกอยู่นิ่ง ก็โอเค เพราะสมการกฎฟิสิกส์มันฟังก์ชันทำงานได้ในทุกกรอบอ้างอิงอยู่แล้ว _____________________________________ "หากเราเทียบเหตุการณ์เดียวกันในกรอบอ้างอิงอื่น เวลาที่ต่างกันนั้นมันจะยังเท่าเดิมรึเปล่า" หมายถึงสมมุติผู้สังเกตคนที่ 3 ขึ้นมา เพื่อสังเกตสองคนแรก สินะครับ สมมุติให้สองคนเรกเป็น A,B แล้วคนที่ 3 เป็น C A อยู่บนดาว นับเป็นกรอบเฉื่อย อยู่นิ่ง B ขึ้นจรวดเดินทางออกไปนอกกาแลกซีด้วยความเร็วเข้าไกล้แสง v C ขึ้นยานอีกลำ ที่เร็วครึ่งนึงของ B และเดินทางไปแบบไม่มีเลี้ยวกลับเลย จนจบเรื่อง ในมุมมองของของ A,B ถ้าเซตติ้งเริ่มต้นของ A,B ยังคง"สัมพัทธกันเท่าเดิม" v สัมพัทธ เท่าเดิม มีการเปลี่ยนแปลง v สัมพัทธ เหมือนเดิม เร่งแบบเดิม เลี้ยวแบบเดิม เบรคแบบเดิม A,B ก็จะยังคงเห็นเวลาต่างกันตามโจทย์เดิมครับ ผลสรุป B จะยังคงหนุ่มกว่าA เท่าเดิมด้วย ส่วนที่เป็นสัมพัทธภาพพิเศษ (นับแค่ช่วงที่ทุกฝ่ายเดินทางด้วยความเร็วคงที่) ในมุมมองของ C ส่วนที่เป็นสัมพัทธภาพทั่วไป (ช่วงที่ความเร็ว v ของ A,B คงที่ เทียบกับ C ) C จะเห็นนาฬิกาของคนอื่นต่างจากตัวเอง ไปตาม v สัมพัทธ ช่วงแรกที่ B ยังเดินทางนำหน้าไป C ที่อยู่ตรงกลางก็จะเห็นเหมือนกับว่าตัวเองอยู่กับที่ แล้วเห็น A,B ถอยห่างออกจากตัวเอง ด้วยความเร็ว v/2 ในแง่เวลา ก็จะเห็นนาฬิกา A,B เดินช้ากว่าตัวเอง (แต่ช้าไม่มากเท่าที่ B เห็น A หรือที่ A เห็น B เพราะ v สัมพัทธ์น้อยกว่านั่นเอง) หลังจากที่ B เลี้ยวกลับโลกแล้ว (กำลังเดินทางกลับด้วยความเร็ว -v คงที่) ทีนี้ C จะเห็น B นาฬิกาเร็วขึ้นแทน จน B,C กลับมาเวลาเท่ากัน เมื่อ B,Cเจอกันพอดี (ก่อนจะสวนกัน) จากนั้นพอแยกกัน ก็กลายเป็นเห็นB ช้าลง จน B กลับไปถึงโลก ส่วนที่เป็นสัมพัทธภาพทั่วไป (นับแค่ช่วงที่เกิดการเปลี่ยนแปลงความเร็ว) ทั้งสามผู้สังเกต จะเห็นตรงกัน ว่าใครเวลาผ่านไปน้อยกว่า ลดหลั่นกันไปตามการเปลี่ยนแปลงความเร็วที่เกิดขึ้น B แก่น้อยสุด เพราะทั้งต้องเร่งเครื่อง เลี้ยวจรวดกลับโลก และเบรคลงจอด C แก่รองลงมา เพราะมีแค่การเร่งเครื่อง แต่จนจบโจทย์ไม่ได้เลี้ยวหรือหยุดที่ใหนอีก A แก่สุด เพราะนับว่าอยู่บนโลกนิ่งๆตลอด (หรือถ้าเซตติ้งโจทย์ให้จรวดเดินทางอยู่แล้วแต่แรก C ก็จะแก่เท่ากับ A) ___________________ "เมื่อเราเทียบกับความเร็วแสง ก็เท่ากับว่าทุกกรอบอ้างอิงที่สังเกต ก็มีความเร็วเท่ากับ 0 ทั้งหมด" ถ้าเทียบกับความเร็วของฟิสิกส์ในชีวิตประจำวัน การโยนลูกบอล การขึ้นรถไฟสวนกัน ผลต่างมันน้อยจนตัดทิ้งไปได้ อันนี้ถูกต้องครับ แต่กรณีโจทย์ Twin paradox เป็นการสมมุติให้มีการเดินทางด้วยความเร็วเข้าไกล้แสงเกิดขึ้นครับ เช่น (3/5) c หรือ c/2 พอจรวดมันเร็วขนาดนั้น+ต้องเปลี่ยนแปลงความเร็วเยอะขนาดนั้น ผลมันเลยเริ่มเห็นชัด
@vaipom
@vaipom 3 года назад
ขอบคุณครับ ผมจะพยายามทำความเข้าใจครับ
@ggkt8546
@ggkt8546 3 года назад
มาเเล้วครับ
@curiosity-channel
@curiosity-channel 3 года назад
ไวไปแล้ว!
@andachain
@andachain 3 года назад
เปิดคลิปเห็นใส่แว่นก็เตรียมตัวไว้เลยว่าโดนแน่ๆ 555
@kitinan
@kitinan 3 года назад
งั้นถ้าเราส่องกล้องไปยัง "ดวงดาว"ที่โลก(หรือดาราจักร)ของเราวิ่งเข้าหา กับ"ดวงดาว"ที่โลก(หรือดาราจักร)ของเราวิ่งออกห่าง ภาพที่เราเห็นจะมีความเร่งของเวลาที่แตกต่างกันใช่มั๊ยครับ และถ้าเป็นเช่นนั้น ภาพดวงดาวที่เราเห็นในท้องฟ้าตอนกลางคืน ก็ล้วนมาจากกาลเวลาที่ไม่สม่ำเสมอกันใช่มั๊ยครับ
@ปืนใหญ่เมืองคอน
ใช่ครับ เพราะกาลอวกาศมันบิดเบี้ยว
Далее
Eminem НА РУССКОМ💔
00:30
Просмотров 365 тыс.
Eminem НА РУССКОМ💔
00:30
Просмотров 365 тыс.