Тёмный

เพลงไอ้เป๋ 

Ampai Boonrod
Подписаться 350
Просмотров 17 тыс.
50% 1

Развлечения

Опубликовано:

 

2 авг 2022

Поделиться:

Ссылка:

Скачать:

Готовим ссылку...

Добавить в:

Мой плейлист
Посмотреть позже
Комментарии : 10   
@user-km4se2ly6x
@user-km4se2ly6x Год назад
เพราะดี
@conservethaiartculture
@conservethaiartculture Год назад
เพลงไอ้เป๋ นั่นคือ "เพลงฉ่อย" นั่นเอง
@user-eh7qk4sw7i
@user-eh7qk4sw7i Год назад
เขารับกันเอชาเอ้ชาชาช่าชาหน่อระหน่อหน่อระหน่อยนอยน้อยระหน่อยเป็นทำทำนองเก่าเลยใช่ไหมครับ
@conservethaiartculture
@conservethaiartculture Год назад
@@user-eh7qk4sw7i ไม่แน่ชัดครับ เพราะเพลงฉ่อยแพร่หลายมาก ตั้งแต่ภาคเหนือตอนล่างลงไปถึงตะวันตก จึงสรุปไม่ได้ว่าถิ่นไหนเป็นทำนองเก่าครับ
@user-so7zq7bq2b
@user-so7zq7bq2b Год назад
เขาว่าเพลงฉ่อยเกิดขึ้นเเถวฉะเชิงเทราใช่มั้ยครับ
@user-eh7qk4sw7i
@user-eh7qk4sw7i Год назад
@@user-so7zq7bq2b เห็นพ่อสุชินเคยบอกว่าเกิดที่อุทัยตอนสมัยร.5
@conservethaiartculture
@conservethaiartculture Год назад
@@user-so7zq7bq2b ไม่น่าจะใช่นะครับ สันนิษฐานไว้ว่าอยู่ทางช่วงภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตนบน ช่วงจังหวัด นครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี ชัยนาท ครับ เพราะหลักฐานเก่าสมัยร.5 กล่าวว่า เพลงฉ่อยหรือเพลงเป๋ "เป็นเพลงร้องตามหัวเมืองฝ่ายเหนือ" คือทางภาคเหนือตอนล่างนั่นเอง "แลเข้ามาร้องในกรุงก็มีบ้าง" จึงมีความเป็นไปได้ว่า เพลงฉ่อยเกิดการแพร่หลายด้วยการเดินทางติดต่อค้าขายของคนเอาไปร้องในต่างถิ่น ทำนองการร้องช้าเร็วเปลี่ยนแปลงกันไป ถ้าไปฟังเปรียบเทียบดู เพลงฉ่อยทางเหนือจะร้องเนื้อยาวและทำนองช้า ส่วนเพลงฉ่อยทางใต้จะร้องเนื้อสั้น และทำนองเร็วกว่า ถ้าคิดตามธรรมชาติแล้ว ต้นฉบับควรจะมีทำนองการร้องช้า เมื่อมีผู้รับต่างถิ่นถ่ายทอดไป เกิดการตัดคำ กระชับทำนองให้ร้องไวขึ้น นี่จึงเป็นแนวคิดหนึ่งว่าเพลงฉ่อยทางเหนือน่าจะเกิดขึ้นก่อนเพลงฉ่อยทางใต้ แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่าทางใต้เพราะ เนื้อร้องทำนองไม่กระชับไม่ทันใจผู้คนอย่างทำนองทางใต้ครับ
@user-wx9uq2fg4h
@user-wx9uq2fg4h Год назад
โอ่โหห้ามลบเด็ดขาดนะครับเป็นประโยคมากเกราะมากๆขอบคุณผคนที่เอาลง
Далее
СЛУЧАЙ В ЧЕРНОБЫЛЕ😰#shorts
00:19
Просмотров 222 тыс.
หวังเต๊ะ-แม่ประยูร 4
29:19
200 IQ рабочий😳
0:28
Просмотров 3,9 млн
ийу 😅
0:14
Просмотров 10 млн