Тёмный

VLOG EP636 ระบบเสียงงานแสดงสด ทำไมถึงเบสเยอะ ? (ตัวอย่างปรับจูนระบบเสียง) 

โต ติงต๊อง
Подписаться 96 тыс.
Просмотров 38 тыс.
50% 1

Опубликовано:

 

30 окт 2024

Поделиться:

Ссылка:

Скачать:

Готовим ссылку...

Добавить в:

Мой плейлист
Посмотреть позже
Комментарии : 50   
@manginoonvariety532
@manginoonvariety532 2 года назад
เป็นคำตอบสุดท้ายจริงๆครับ สุดยอดแล้วคงไม่ต้องเถียงกัน นับถือจริงๆ
@thepvanna4102
@thepvanna4102 2 года назад
ผมล่ะชอบฟังชอบดูคุณโตอธิบาย ง่ายๆตรงๆดูสนุกได้ความรู้ดีครับ
@ประพันธ์แว่นจง
มือใหม่ ขอถามนิด ว่า กราฟ phase กับ ความถี่ Magnitude ใช้ต่างกันอย่างไรครับ
@CreativeAudience
@CreativeAudience 2 года назад
ถูกต้องเลยครับ ถ้าให้คนที่เซ็ตระบบเสียงเครื่องเสียง Hi-End มาเซ็ตระบบเสียง PA ด้วยการทำให้ Flat ตามที่เขาต้องการ รับรอง จะเป็นงานที่กร่อย แสบแก้วหู ไม่มีใครลุกขึ้นเต้น แล้วก็หนีกลับบ้านกันหมด (บางทีนักเล่นเครื่องเสียง Hi-End ที่เขาชอบฟังแบบ Flat แล้วคิดว่าเที่ยงตรงสมจริงเหมือนฟังตอนแสดงสดตามที่ชอบพูดกัน แต่พอไปฟังแสดงสดต้นฉบับเขาไม่ได้ Flat ขนาดนั้นเลยด้วยซ้ำ ต้องถามหน่อยว่าใครกันแน่ที่เพี้ยน 5555+)
@ttasac
@ttasac 2 года назад
เคยเจอเหมือนกันนะงานแสดงสดที่ Flat เป็นไม้บรรทัด ส่วนใหญ่เป็นละครเวที ส่วนคอนเสิร์ตมักยกเบสขึ้นอยู่แล้ว
@elcronics2038
@elcronics2038 2 года назад
กลับกัน ให้นักเซ็ท PA มาเซ็ท ระบบไฮเอ็น รับรองว่าก็ขายไม่ออกเหมือนกัน คุณก็กลายเป็นคนเพี้ยนเหมือนกัน ผมเอง ก็สงสัยมาหลายสิบปี ที่จริงทั้งถูกทั้งผิดทั้งคู่ เพราะ ว่าความจริง พวกคุณต้องแยก แนว ดนตรี ซะก่อน เช่น เพลง บวก กับ ชิ้นดนตรีเบา ไดมามิค จะใกล้เคียงกัน สามารถบันทุกแบบflat และเล่น แบบ flat ในขณะที่ ดนตรีที่มีกลอง กระเดื่อง จะบันทึก แบบ flat ไม่ได้ เพราะลำโพง คนทั่วไป จะได้ยินแต่เบส เขาจึง ปรับเบสลงก่อน แล้วจึงต้องมาหาวิธีการ ฟังภายหลัง ทำได้ หลายวิธี คือ 1 ลำโพง flat ที่รับกำลังได้สูงที่ ลง ถึง 35HZ ปรับ EQ 2 ใช้ลำไพง ตลาด เล็กที่เบสหนา ที่มันชอบดัง ปุ้งๆ เพราะมันเล่นต่ำกว่า 80 Hz ไม่ได้ ให้มันยกเอง ที่ 100 กว่า แต่เสียงน่าเกียจ 3 หาเพลงแบบflat มาเล่น กับเพง แบบ flat เพลงแบบนี้จะมี dynamic rage สูงมาก ต้องเปิดดังๆเม่านั้นถึงฟังได้ ลำโพงต้องรับได้จริงๆ ลำโพงชาวบ้านทั่วไปทำไม่ได้ 4 ใช่ ชุด ที่ ลงถึง 35Hz แล้วมีการ weight น้ำหนัก ทั้งทุ้ม กลาง แหลม ไว้แล้ว (พอดีกับที่เขากดลงมาตอนบันทึก) การ weight มาก หรื่อ น้อยขึ้น อยู่กับ ระดับความแตกต่าง ของชิ้นดนตรีจริง เช่น พวก symphony จำเป็นต้องเร่งเบส ขึ้นมามาก รองไป ก็เพลง rock ไม่ต้องทำไรเลย ก็พวก acoustic นักเซ็ท PA และ ระบบPA บางคน เชื่อไหมว่า พอ เปิด เพลง symphony แล้ว จะเจอแต่ความอุดอู่ สากเซี่ยน เสียงกลางฟุ้งกระจาย ส่วน นักเล่น hifi่ แบบไม่เต็ม Rang ก็จำเป็นต้องทน ฟังแห้งๆ ต่อไป ถ้าเล่นไม่เป็น แต่ ผมจับทางได้แล้ว ว่า วิธีการบันทึก เขาใช้วิธีแบบใด และต้องใช้ลำโพงแบบใด แอมป แบบไหน สำหรับ ฟังได้ทุกแนว รอยต่อเสียง cross over นั้นสำคัญมาก ถ้าตรงนี้ไม่ได้ อย่าหวังเลย ว่า จะได้ระบบเสียงที่ดี ไม่ว่า คุณจะปรับ EQ อย่างไร ก็แก้ไม่หาย ลำไพงไฮเอน หลายรุ่น ทำไม่ได้ หลอก นักฟังโง่ที่อยากมีของหรุ ของดีแค่นั้น ลำโพง PA ก็เหมือนกัน ไม่เคยสนใจ การตัดcross ด้วยซ้ำไป สรุป ง่ายๆ PA หรือ HIEND ก็ไม่เกี่ยว อะไรกับการที่มีเสียง HIFI เลย และการทำ flat ก็ไม่ใช้ HIFI แต่การทำให้ ใกล้เคียงกับชิ้นดนตรีจริง คือความHIFI ลำโพง HIFI จะเป็นระบใดก็ได้
@ttasac
@ttasac Год назад
@@elcronics2038 ขออภัย RU-vid ไม่แจ้งเตือน Sub-Comment กว่าจะวนเข้ามาดูก็เลยครึ่งปีไปแล้ว ผมมีเห็นต่าง ดังนี้ . 1. การบันทึกเสียงไม่ว่าจะบันทึกในงานแสดงสดหรือในสตูดิโอ ไม่มีใครในงานเสียงมืออาชีพ "ปรับเบสลงก่อน" อย่างที่คุุณว่า เพราะการบันทึกต้องเก็บรายละเอียดสำคัญให้ครบถ้วนที่สุด และการ Mix-Down รวมถึง Master ก็ไม่มีการ "ปรับเบสลงก่อน" อย่างที่คุณว่าเช่นกัน แต่มีการแต่งโทนเครื่องดนตรีบางชิ้นไม่ให้ทับซ้อนกัน, เพิ่มรสสัมผัส และปรับรวมเล็กน้อยเพื่อป้องกันขุ่นมัว แค่นั้น และแต่ละแนวเพลงจะมี Groove เฉพาะตัวที่ทำให้คนฟังมีอารมณ์ร่วม (หรือผงกหัวตาม) การ "ปรับเบสลงก่อน" จึงไม่ได้มีผลเท่ากับการคุม Groove ให้ชัดเจนและเหมาะสมทั้งเรื่องความดังและความถี่ . 2. ระบบตรวจทานเสียงในขั้นตอน Mix-Down และ Mastering นี่แฟลตเป็นไม้บรรทัดเลยนะ เพราะห้อง Treat มาดี และการมี Subwoofer ไม่ได้ใช้เพื่อเพิ่มเบส แต่ใช้เพื่อขยายขอบเขตความถี่ให้ลงต่ำ เพื่อการ Mix-Down / Mastering ที่แม่นยำ . 3. "จึงต้องมาหาวิธีการฟังในภายหลัง" ไม่ใช่เจตจำนงของผู้ผลิตงาน เพราะการผลิตงานเสียงแต่ละครั้งเขาต้องการให้ "พอฟังได้" กับระบบเสียงทุกประเภทโดยเฉลี่ยไม่อย่างนั้นมันขายไม่ได้ จึงต้องใช้การตรวจทานแบบข้อสอง มีแต่คนชอบฟังเท่านั้นที่พยายามหา Configuration ที่รีดเอารายละเอียดเสียงออกมาให้มากที่สุด คนทั่วไปเขาฟังแล้วสนุกหรืออินก็เพียงพอแล้ว แต่ถึงอย่างไรก็ตามถ้ามีคนไปถาม Sound Engineer ว่าจะปรับเครื่องเสียงเพื่อฟังเพลงที่คุณทำอย่างไรดีจะได้คำตอบเสมอว่า "Flat ให้มากที่สุด" เพราะจะได้ใกล้เคียงกับระบบตรวจทานในข้อ 2 . 4. Dynamic Range ของเพลงส่วนใหญ่ในตลาดมีมาตรฐานกำกับเสมอ ยกเว้นเพลงสำหรับทดสอบเครื่องเสียงบ้านที่ต่างคนต่างทำ สังเกตได้จากเปิดฟังเทียบกับเพลงอื่นเสียงจะค่อยแต่ฟังแล้วมีชีวิตชีวากว่า ไม่ได้เกี่ยวว่ามัน Flat หรือไม่ เพราะมันถูก Mix-Down / Mastering จากระบบข้อ 2 . 5. "ลำโพงชาวบ้าน" สามารถเช่นเสียง High Dynamic Range ได้เหมือนกับลำโพงราคาหลักแสนหรือหลักล้าน แต่การจะเล่นให้ได้ความดังที่ต้องการก็อีกเรื่อง เพราะขึ้นอยู่กับ Efficiency ของลำโพง . 6. การ Weight น้ำหนักความถี่ในข้อ 4 ของคุณไม่เคยมีบรรญัติไว้ในงานเสียงมืออาชีพ ไม่ว่าจะในงานสตูดิโอหรืองานแสดงสดก็ตาม . 7. "นักเซ็ท PA" ไม่เคยมีตำแหน่งนี้ในสายงานเสียงมืออาชีพ มีแต่นักปรับจูน . 8. "ความอุดอู้" "สากเสี้ยน" "กลางฟุ้งกระจาย" ไม่ใช่สิ่งที่นักปรับจูนระบบเสียงจะควบคุมได้ เพราะเกิดจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างคลื่นเสียงกับสถานที่และพื้นผิวต่าง ๆ ตั้งแต่ปากกรวยลำโพง, ตะแกรง, ผิวตู้ ไปจนถึงผนัง, เพดาน หรือแม้กระทั่งแจกันดอกไม้ (ในบางความถี่) ถ้าได้สามสิ่งนี้ในสถานที่ ๆ ไม่มีเสียงก้องมันคือบุคลิกของลำโพงล้วน ๆ . 9. ลำโพง PA เขาให้ความสำคัญกับจุดตัด Crossover มากกว่าเครื่องเสียงบ้านมาไม่ต่ำกว่า 2 ทศวรรศแล้ว (เครื่องคุมลำโพงดิจิตอลออกที่สามารถปรับความถี่จุดตัดและความชันได้ ออกมาตั้งแต่ก่อนปี 2540) เพราะเครื่องเสียง PA คือ "ระบบขยายเสียง" ที่ต้องครอบคลุมบริเวณกว้าง การมี Phase Mismatch บริเวณจุดตัด Crossover ส่งผลให้สูญเสียความดังที่เกิดจากพลังงานไปซึ่งขัดกับไอเดียการใช้ระบบ PA คือ "Maximum SPL Per Watt" . 10. HIFI หรือ High-Fidelity ไม่มีอยู่จริง เพราะการตีความว่าเสียงเครื่องดนตรี "มีความใกล้เคียงกับชิ้นดนตรีจริง" นั้น เกิดจากการฟังและตัดสินด้วยหูซึ่งไม่มีข้อมูลชี้วัดอะไรทั้งนั้น เมื่อใดที่เสียงในรูปพลังงานกลในอากาศถูกเปลี่ยนสภาพเป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อขยายหรือบันทึก เมื่อนั้นความ High-Fidelity ก็สูญเสียไปจากเดิมแล้ว ยังไม่รวมถึงเวลาฟังสด ๆ ในสถานที่จริงมันมีสภาพแวดล้อมทางการฟังอื่นมาผสมด้วย (สถานที่, เสียงจริงเครื่องดนตรีที่ปฏิสัมพันธ์กับวัสดุต่าง ๆ และสถานที่, Near-Field / Far-Field) นะ
@elcronics2038
@elcronics2038 Год назад
@@ttasac 1 ปรับเบส ลงในที่นี้ หมายถึง ระดับเสียงที่บันทึก เทียบกับชิ้นดนตรีอื่นๆ เช่น กลอง เวลายืนฟังจริง ดัง 110 dB spl นักร้อง 60dBpl เมื่อเข้าการบันทึก จะดังต่างกัน 50dB ทำให้เวลา เล่นกลับ จะได้ยิน แต่ เสียงกลอง ที่นี้ตอนทำแผ่น จึงต้องปรับระดับความดัง ให้ใกล้กัน ข้อพิสูจน์คือ เวลาคุณเล่นเพลง ถ้าคณไท่ปรับอะไร เสียงนักร้อง จะดังลั่นบ้าน แล้ว ในขณะที่ เสียงกลอง ยังดังไม่ถีงระดับกลองจริงด้วยซ้ำ คุณรู้ จัก A weigh ,B weigh C weigh ไหม และคุณใช้มันอย่างไร 2. คุณเช้าใจว่า flat คืออะไร ไม่ได้หมายถึง การปรับ EQ แต่แค่การ ปรับ mixer คุมความดัง การวางตำแหน่งไมค์ ความดังเสียงก็เปลี่ยนแล้ว 5 ลำโพงชาวบ้าน" สามารถเช่นเสียง High Dynamic Range ได้เหมือนกับลำโพงราคาหลักแสนหรือหลักล้าน" อันนี้ไม่จริง cd audio 16 bit มีrange เสียง96dB และ 24bit rang เสียง 110-120dB ลำโพง ถ้าเล่นดัง 110 dBไม่ได้ จะให้ระดับครบช่วง Dynamic Range ของแผ่นได้อย่างไร ยิ่งถ้านับ ห้อง ฟังที่เสียงรบกวน 30-40 dB SPLยิ่งทำไม่ได้เลย 8"ความอุดอู้" "สากเสี้ยน" "กลางฟุ้งกระจาย" ไม่ใช่สิ่งที่นักปรับจูนระบบเสียงจะควบคุมได้ " ถูกเพราะต้องคุมตั้งแต่ ตู้ ดอก ครอสเน็ตเวิกในตุู้ เช่น cone peak effect คืออาการ ที่กรวยเสียง ตอบสนองใกล้จะสุดย่านความถึ่ มันจะดังมาก เป็นพิเศษ ส่งผลให้เสียงกลางโดยเฉพาะเสียงร้อง ดังขึ้นแบบสากๆ บางคนกับชอบเพราะนึกว่า มันชัดดี แต่ถ้า มีดนตรีหลายชิ้น อยู่ในช่วางความถี่นี้ เสียงมันจะพร่ามัวแต่คุณจะฟังไม่อกก จนกว่า จะสัมผัส กับลำโพงไฮไฟ ไฮไฟนะ ไม่ใช่ ไฮเอนด์ เพราะ ไฮเอนด์ อาจไม่ใช่ ไฮไฟ ลำโพงที่ ไม่มีทาง เป็น ไฮไฟ ลำโพงปากแตรทึกชนิด ตู้เบส band pass เสียงแหลม แบบpolymer ลำโพงกรวยกระดาษแบบบางตวามไวสูง
@ttasac
@ttasac Год назад
@@elcronics2038 1. ไม่มีใครลดระดับเสียงที่บันทึก เพราะต้องบันทึกโดยให้ได้ S/N สูงสุดแล้วไปบาลานซ์ในขั้นตอน Mix-Down / Mastering อีกที . 2. SPL Weighting ไม่มีใครนำมาใช้ตอนบันทึกเสียง เพราะเอาไว้วัดค่า "ความดัง" โดยนำเนื้อหาความถี่ต่ำมาคิดมากหรือน้อย แค่นั้น . 3. Decibel เป็น Relative Term ที่ต้องมีตัวเทียบเคียงและตัวเทียบต่าง แค่คุณยกตัวอย่างการนำ SPL มาเทียบตอน "เข้าการบันทึก" มันก็ไม่ใช่แล้ว คุณจะเอา Pressure มาเทียบกับ Voltage ได้อย่างไร ? . 4. Flat คือสภาพแวดล้อมทางการฟังขณะ Mix-Down / Mastering เท่านั้น ตอนทำงานไม่มีใคร Mix-Down ทุก Channel Flat จ๋า ยกเว้นงานเฉพาะกลุ่ม . 5. ปรับ Mixer คุม "ความดัง" ใช้กับกรณีบันทึกเสียงไม่ได้ เพราะเสียงเปลี่ยนรูปจากความดันเป็นอิเลกตรอนแล้ว เว้นแต่เป็นงานแสดงสดที่ถูกแปลงกลับมาเป็นความดันทันที . 6. ลำโพงชาวบ้าน" สามารถเช่นเสียง High Dynamic Range ได้เหมือนกับลำโพงราคาหลักแสนหรือหลักล้าน" -- ผมยืนยันคำเดิม เพราะคุณเอาสิ่งที่ผมพิมพ์มา Quote ไม่หมด มันขาด "แต่การจะเล่นให้ได้ความดังที่ต้องการก็อีกเรื่อง เพราะขึ้นอยู่กับ Efficiency ของลำโพง" ซึ่งอธิบายได้ครบถ้วนในตัวมันเองแล้ว . 7. ลำโพงน่ะมันไม่แคร์หรอกว่าเสียงที่ปล่อยเข้าไปมี Dynamic Range เท่าไหร่ สัญญาณเป็นอย่างไรมันก็ขยับไปตามนั้น แต่เราจะรู้สึกว่ามันดังพอไหมก็อีกเรื่อง . 8. 16-Bit / 24-Bit หรือแม้แต่ 32-Bit Float ไม่ได้แปลว่าจะได้ยินช่วงความดังเสียงตาม Bit-Depth เหล่านี้ 100% เพราะสื่อส่วนใหญ่ไม่ว่าจะมี Bit-Depth เท่าไรมันถูกบีบมาประมาณหนึ่งจากเสียงจริงอยู่แล้ว ไม่อย่างนั้นลำโพงทุกใบในโลกนี้ต้องหรี่เสียงตอนวงเล่นดังและเพิ่มเสียงเมื่อมีกระซิบอัตโนมัติ หูเราไม่มีทางได้ยิน 0 dBSPL ในชีวิตประจำวันฉันใด สื่อเสียง Bit-Depth ต่าง ๆ ก็ไม่สามารถให้ Dynamic Range ในชีวิตจริงได้เต็มมาตรฐานฉันนั้น เพราะมันเป็นแค่ "กล่องบรรจุ" ไม่ใช่ "เนื้อหา" . 9. Cone Peak Effect เป็นศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อน และลองค้นกับถามคนรู้จักแล้วก็ไม่เจอ แต่งานเสียงมืออาชีพใกล้เคียงสุดคือ Resonance แต่ไม่ใช่ "ตอบสนองใกล้จะสุดย่านความถี่มัน มันจะดังมาก เป็นพิเศษ" แน่นอน . 10. เสียงกลางโดยเฉพาะเสียงร้อง ดังขึ้นแบบสาก ๆ ไม่เคยได้ยินว่าเกิดจาก Cone Peak Effect แต่เกิดจากความขัดแย้งด้านความดังและเวลาในช่วงความถี่ต่าง ๆ บริเวณจุดตัด Crossover . 11. ยังยืนยันคำเดิม คำว่า Hi-Fidelity ส่วนตัวคิดว่าไม่มีอยู่จริง ไม่ว่าจะเล่นด้วยลำโพงหรือชุดเครื่องเสียงอะไร เพราะเสียงมันเปลี่ยนรูปพลังงานไปแล้วหลายครั้ง . ส่วนตัวอย่าง 50 dB ของคุณ น่าจะเข้าใจนะว่าความดังแบบ "ระดับกลองจริง" มันไม่มีอยู่จริง เพราะขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่คุณวัดตัวเทียบเคียงและตัวเทียบต่าง แถมเวลาเล่นกลับคุณบิดวอลลุ่มที่ DAC หรือ AMP ได้ แล้วมันจะมีมาตรฐาน "ความดังเท่ากับเสียงจริง" ได้อย่างไร ?
@kruperman01
@kruperman01 Год назад
ขอบคุณ ความรู้ อย่างนี้ด้วยคับ
@beebenpreecharchaiyaphat216
ได้ความรู้ดีมากไปครับ อยากได้ความรู้ งานใช้มิกคุมเสียงงานใหญ่ๆๆ
@ttasac
@ttasac Год назад
มันก็ไม่ต่างจากคุมงานเล็กหรอก
@mintkung6307
@mintkung6307 8 месяцев назад
เหมือนเห็น ชอบปรับกันเป็นรูปตัวu หรือ v ถ้าหลับหูหลับตาปรับแบบนี้ นับว่าดีกว่าflatไหมครับ
@mintkung6307
@mintkung6307 8 месяцев назад
อันนี้ ผมเห็นจากเพือนๆ ทำกันไม่รู้ว่าถูกหรือผิดอย่างไร
@bunsrianthaban3424
@bunsrianthaban3424 Год назад
จริงแล้วบอกไม่ได้หลอกว่าแบบใหนดีถ้าเพลงลูกทุ่งเบสสายกลางแหลมต้องเด่นการฟังที่เน้นดนตรีกลางแหลมต้องดีเสียงเบสมันมีดนตรีน้อยชิ้น
@poneaks
@poneaks 2 года назад
ก็คือต้องชดเชยเบสเพิ่มขึ้น เพราะหูเรามันแย่เรื่องเบสนั่นเองใช่ไหมครับ ถ้าเอาหูมาพลอตกราฟ ก้อคงเริ่มไต่ชันจากเบส มาเรียบๆ แถวๆ 7- 8 Hz
@ttasac
@ttasac 2 года назад
7-8 Hz ถ้ามีคนได้ยินต้องหูทองมาก ค่าเฉลี่ยที่คนส่วนใหญ่เริ่มได้ยินประมาณ 20 Hz ขึ้นไป
@poneaks
@poneaks 2 года назад
@@ttasac พิมพ์ตกครับพี่ จะพิมพ์ 700 -800 Hz 555
@ส.ย.ซาวด์คนมักเลาะ
ขอบคุณมากคับอาจารย์โต
@aphichaimail
@aphichaimail 7 месяцев назад
ขอบคุณครับ
@prawdaeng
@prawdaeng 2 года назад
ชัดเจนครับ
@chantaboun7095
@chantaboun7095 2 года назад
สอนทำดีเร่น่อยครับ
@วŠท่าเอะ-e2g
@วŠท่าเอะ-e2g 2 года назад
แล้วแต่หน้างาน ตามความเหมาะสมครับ
@triwit13
@triwit13 2 года назад
ผมเข้าใจ คุณโต ครับ สุดท้าย ผมคิดว่าแล้ว แต่งานครับว่า ห้อง ใช้งานแบบไหน/อคูสติก time delay / Resonanceในห้อง /การจัดวางลำโพง/ และ อุปกรณ์ systemที่ลงไป
@ttasac
@ttasac 2 года назад
งานแบบไหนนี่ถูกต้อง อย่างละครเวทีที่ผมทำระบบ Flat จ๋าเลย Resonance ของสถานที่มันยากมากที่จะกำทอนในความถี่ต่ำกว่า 120 Hz เพราะความยาวคลื่นที่โคตรยาว ห้องจำเป็นต้องมีปริมาณเยอะตาม (โคตร ๆ) ด้วย การจัดวางลำโพงสำหรับความถี่ต่ำ เชื่อไหมว่าวางไว้ตรงไหนถ้าต้องการเสียงเบสเยอะกว่ากลางแหลม ยังไงมันก็เยอะกว่าอยู่ดี แต่จะมีคุณภาพอย่างไรนั่นอีกเรื่อง อุปกรณ์หรือ System จากประสบการณ์มีอิทธิพลไม่ถึงครึ่งเมื่อเทียบกับการจัดวางครับ
@mkcbetta6677
@mkcbetta6677 2 года назад
@@ttasac ผมเชื่อในเรื่องการจัดวางมากเลยครับ ไม่น่าค่ายทำเครื่องเสียงรถยนต์อย่าง มิราจ ถึงมีชื่อเสียงในแง่ของชุด A-Pilar เสาA แบบ2-3 ทาง ยิงเข้าหูคนฟังแล้วจดสิทธิบัตร5555
@veerakron
@veerakron 2 года назад
อยู่ในห้องที่ทำ อคูติค ก็ไม่เรียบ ครับ
@ttasac
@ttasac 2 года назад
อันนั้นไม่เรียบอยู่แล้ว
@aerowsbhx
@aerowsbhx 2 года назад
สอบถามครับ จากสมการวิทยาศาตร์ตอน ม.ปลาย เพิ่มลำโพงเข้าไป 1 เท่า จะดังเพิ่ม 3dB แต่ คุณโตบอกว่า 6 dB เพราะอะไรหรือครับ
@ttasac
@ttasac 2 года назад
เพิ่ม 6 dB จะเกิดขึ้นเมื่อ เพิ่มแรงดัน 1 เท่า, เพิ่มแหล่งกำเนิดเสียง (ความดัน) 1 เท่า และกระแส 1 เท่า (20log) ส่วนเพิ่ม 3 dB จะเกิดขึ้นเมื่อเพิ่มกำลัง 1 เท่า (10log)
@aerowsbhx
@aerowsbhx 2 года назад
@@ttasac 20log ใช้กับระยะห่าง (m) 10log ใช้กับ ความเข้ม (w/m2) และกำลัง (w)?
@ttasac
@ttasac 2 года назад
ระยะห่างนี่ไม่รู้ Intensity w/m^2 ไม่เคยได้ยิน และไม่เคยใช้ ส่วนกำลังก็ตามนั้น
@EEE0198
@EEE0198 2 года назад
เข้าใจถูกแล้วครับเริ่มจาก กำลัง(power) ใช้ 10 log(P/P0) ดังนั้น เพิ่ม3dB ต้องใช้กำลัง 2 เท่า แต่จาก P=V^2/R =I^2.R พอเจอกับกำลัง 2 ใน log เมื่อเอาออกนอก log จึงกลายเป็น 20log(V/V0) จึงกลายเป็น6dB ครับ ส่วนที่ @erow บอกว่าสัมพันธ์กับระยะทางคงหมายถึง sound pressure จะลดลง 6dB เมื่อระยะห่างจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น 2 เท่า สูตรนี้ใช้แนวคิดการกระจายเสียงในรูปทรงกลมทำให้ความเข้มลดลงตามพื้นที่ผิวของทรงกลมที่เพิ่มขึ้นตามรัศมีครับ
@aerowsbhx
@aerowsbhx 2 года назад
@@EEE0198 ดังนั้นเพิ่มลำโพงเข้าไป 1 เท่า จะดังเพิ่มเท่าไรครับ
@vasildel6960
@vasildel6960 2 года назад
ส่วนตัวคิดว่าเบสนำเพราะเครื่องเสียงห่วย ส่วนใหญ่ถ้าเปิดดังมากกกกกกก กลาง-แหลม แตกกระจาย เลยเอาเบสนำกลบเสียงห่วย หรือถ้าตอบแบบรักษาน้ำใจคือแล้วแต่รสนิยม ฮ่าๆๆๆๆๆ
@ttasac
@ttasac 2 года назад
มีแบบนั้นเหมือนกัน 555
@ประดิภาสแขกรัมย์
ผมเบื่อมากเวลาดูการเเสดงสด ตามบ้านนอก ที่ชอบเปิดดังๆ ยกกระเดื่อง ปง ๆ ดังๆเกินจนเเสบหู แต่ถ้าเป็นคอนเสิร์ต เวทีใหญ่ มืออาชีพเขาไม่ทำกันครับ
@jackcolo1601
@jackcolo1601 2 года назад
Sponsored by Counterpain. 😆
Далее
Always Help the Needy
00:28
Просмотров 18 млн
Always Help the Needy
00:28
Просмотров 18 млн