Тёмный
พระธีรชโย
พระธีรชโย
พระธีรชโย
Подписаться
พระธีรชโย วัดพระธาตุหนองสามหมื่น จ.ชัยภูมิ
Комментарии
@ratchaneec8295
@ratchaneec8295 7 часов назад
🙏🏼🙏🏼🙏🏼
@ponpora9110
@ponpora9110 7 часов назад
🙏.. 🙏.. 🙏..
@phinyokhiaolamae
@phinyokhiaolamae 17 часов назад
ลมหายใจบริสุทธิ์ อ.อริยเจ้า❤
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h День назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-ih6gb5ex1h
@user-ih6gb5ex1h День назад
🙏🏻🙏🏻🙏🏻
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 2 дня назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@soodjaiboustead1716
@soodjaiboustead1716 2 дня назад
กราบนมัสการค่ะพระอาจารย์ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงท่ีให้ความรู้ค่ะ
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 2 дня назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 2 дня назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 2 дня назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@Warattaya-rv1oh
@Warattaya-rv1oh 2 дня назад
ขอนอบน้อมกราบพระอาจารย์ฯ อนุโมทนาในธรรมทานคะ..สาธุ
@Warattaya-rv1oh
@Warattaya-rv1oh 2 дня назад
นอบน้อมกราบอนุโมทนาสาธุธรรมคะ✨👏👏👏✨
@pranchalengsaengma7647
@pranchalengsaengma7647 2 дня назад
ขอบคุณมากๆครับ
@Warattaya-rv1oh
@Warattaya-rv1oh 3 дня назад
นอบน้อมกราบอนุโมทนา สาธุธรรมคะ ✨👏👏👏✨
@DaewStar-cb7wp
@DaewStar-cb7wp 4 дня назад
น้อมกราบสาธุค่ะ
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 4 дня назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 4 дня назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@Warattaya-rv1oh
@Warattaya-rv1oh 4 дня назад
นอมน้อมกราบพระอาจารย์..สาธุธรรมคะ ✨👏👏👏✨
@melonchilie1760
@melonchilie1760 4 дня назад
กราบสาธุเจ้าค่ะ
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
การมองในมิติอื่นๆ #4 (ต่อ) - ว่าโดยผล - ภาคทฤษฏี - ถ้าเราศึกษาโดยฟังจนถึงสุตมยญาณ แล้วเกิดปัญญา(สัมมาทิฐิ) เราจะเรียกว่า กัมมสักตาสัมมาทิฐิ - ถ้าเรายังไม่ถึงนามและรูป เราจะต้องเข้าถึง กัมมสกตาสัมมาทิฐิ - สัมมาทิฐิ คือการเข้าใจในอริยสัจ 4 - ปัญหาของเรา - ขาดความเข้าใจในทุกขสัจจะตั้งแต่ระดับอริยสัจแห่งจิต - ระดับขั้น - กัมมสกตา, อริยสัจแห่งจิต - คือ - ย่อ เข้าใจอุปทานขันธ์ 5 (ปรมัตถ์) - พิศดาร ทุกข์คือการเข้าใจทุกข์สัจในวัฏฏะทุกข์ (3 + 8 = 11 กอง) - เงื่อนไข - ถึงก็ต่อเมื่อเข้าใจอริยสัจแห่งจิตของผู้รู้อารมณ์ - จิตจะต้องเข้าใจอริยสัจเมื่อรับอารมณ์ อารมณ์นั้นจะต้องตรงกับความรู้ของจิตและจิตจะต้องรู้สึกสอดคล้องกับอริยสัจ - นาม - รูป - คือ - ทุกข์ ⇒ ขันธ์ 5 ปรากฏ - สมุทัย ⇒ ตัณหาที่เกิดขึ้นแรกๆ ถูกละไปด้วยสติปัฏฐาน - นิโรธ ⇒ ตั้งแต่ ภังคญาณ เป็นต้นไป - มรรค ⇒ การกำหนดรู้ทุกข์ ละสมุทัย - เงื่อนไข - ถึงก็ต่อเมื่อสติปัฏฐานปรากฏ - วิปัสนา (ถึงก็ต่อเมื่อไตรลักษณ์ปรากฏ) - นิพพาน (ถึงก็ต่อเมื่อนิพพานปรากฏ) - ภาคปฏิบัติ - อริยสัจแห่งอารมณ์ (ขันธ์ 5 ปรากฏแก่จิตโดยความเป็นกรรมและผลของกรรมที่เป็นทุกข์โดยส่วนมาก) - ขยายทุกข์ทั้ง 11 กองให้กว้างและลึกลงไป เพื่อให้เกิดอริยสัจแห่งจิตและเอาอริยสัจแห่งจิตไปกำหนดขันธ์ 5 ในเรื่องของสติปัฏฐานในภาคปฏิบัติ จบแล้วครับ
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
การมองในมิติอื่นๆ #3 (ต่อ) - ว่าโดยอารมณ์ - ภาคทฤษฎี - การเวียนว่ายตายเกิดของบัญญัติ สัตว์, บุคคล ส่วนมากเป็น - นิมิต (สวย, ไม่สวย) - อนุพยัญชนะ (รายละเอียด) - ภาคปฏิบัติ (เพื่อที่จะเข้าถึง นาม - รูป ในขั้นปรมัตถ์) - บัญญัติที่ใกล้กับการปรุงแต่ง (โลภ, โกรธ) (อภิชฌาและโทมนัส) - สัททบัญญัติ - อัตถบัญญัติ - บัญญัติที่ใกล้กับปรมัตถ์ - อินทรีย์สังวรโดยสภาวะของสัมมาสังกัปปะ - ว่าโดยการละอนุสัย - ภาคทฤษฎี - ละสักกายทิฐิด้วยการข่ม (วิขัมปนะ) (หินทับหญ้าไว้ได้แปปหนึ่ง) - จนกว่า นาม-รูป จะปรากฎ เราจะข่มสักกายทิฐิด้วยตทังคปหาร โดยการละความเห็นผิดชั่วขณะ ในขณะที่นามและรูป (ขันธ์ 5) ปรากฏ ในขณะนั้นไม่มีตน เราจะจำหรือมีความรู้ทางตา, หู, จมูก, ลิ้น, กายไม่ได้ชั่วขณะ เป็นความรู้ใหม่ที่พ้นจากสักกายทิฐิและเมื่อถึงมรรคเมื่อไรก็ละได้โดยเด็ดขาด - เมื่อใดที่สัมมาทิฐิเกิดขึ้น เราจะคิดเป็นไปตามสัมมาทิฐิและจะเอาอัตตาคือความเห็นผิดออกไปได้ชั่วขณะ (เผลอได้) แต่เมื่อไรที่ปัญญาเกิด เราจะต้องคิดเป็นไปตามสัมมาทิฐิ - ว่าโดยการละอารมณานุสัย - คือกิเลสที่นอนเนื่องอยู่ในอารมณ์ นอนเนื่องอยู่ในสัตว์, บุคคล ที่เป็นเราเป็นเขา แต่เมื่อสัมมาทิฐิเกิดขึ้นจะแหวกม่านของความเห็นผิดในอารมณ์นั้นว่าเป็น สัตว์,บุคคล มาทำกับเรา (ตัวอย่าง: เมื่อเราถูกกระทำอะไรบางอย่าง เราจะเห็นว่าเราได้รับผลของกรรมที่เราทำมาเอง ส่วนเขาได้ทำกรรมใหม่และจะได้รับผลของตนในอนาคต) - ภาคปฏิบัติ - ว่าโดยการละสัตตานานุสัย โดยการเป็นตทังค (นาม-รูป ปรากฏ)และโดยความเป็นสมุจเฉทเมื่อมรรคปรากฏ
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
การมองในมิติอื่นๆ #2 (ต่อ) - หลักการมนสิการ - ทฤษฎี - สุตะคือให้ใช้ความรู้สึกในการรับข้อมูลเข้าไป ที่เรียกว่า ปสาทศรัทธา - ใช้ความคิดในการโยนิโสมนสิการจากธรรมะที่อยู่ข้างใน (เวลาเจอวัตถุในชีวิตประจำวันให้คิดตรงกับธรรมะและเป็นไปกับธรรมะ คือเรื่องกรรมและผลของกรรม และอริยสัจคือตัณหาเป็นเหตุแห่งทุกข์) - ปฏิบัติ - ต้องแยกให้ออกก่อนว่าความคิดและความรู้สึกต่างกันอย่างไร - ถ้าเกิดจากการใช้ความรู้สึก (ปัจจัตลักษณะ) แล้วเกิดโยนิโสมนสิการต่อ เราจะเรียกโยนิโสมนสิการที่เกิดทีหลังว่า อนุมานญาณ (การคิดขั้นสูง) - แต่ถ้าโยนิโสมนสิการ(คิดในเรื่องสัตว์บุคคล)ก่อนแล้วค่อยใช้ความรู้สึกเราจะเรียกโยนิโสมนสิการเหมือนเดิม - แต่เมื่อไรที่ นาม-รูป ปรากฏโดยความเป็นสภาวะปรมัตถ์หรือขันธ์ 5 หลังจากนั้นการอนุมานด้วยความคิดจะเป็น อนุมานญาณ ทั้งหมด (ไตรลักษณ์, สังขารภายนอก-ใน) - ว่าโดยเหตุ - ทฤษฎี - ใช้ศรัทธาในการโยนิโสมนสิการ หรือการเก็บข้อมูลโดยใช้ความรู้สึกโดยที่ยังไม่ต้องคิดเทียบเคียงโดยขอให้มีความจำในธรรมะที่มั่นคงก่อน(ถิระสัญญา) ค่อยคิดทีหลัง - ปฏิบัติ - เป็นเรื่องของสติสัมปชัญญะในการรู้สึกเอา แค่รู้สึกซื่อๆ - สมถะ - เริ่มเมื่อหมดความคิด - มีไว้ข่มกิเลส - สร้างสติขึ้นมา - วิปัสนา - เริ่มเมื่อเห็นความคิด - รู้ตามความเป็นจริงจนกระทั่งถึงไตรลักษณ์ (บัญญัติที่พ้นจากกาลทั้ง 3) - ถ้าไม่รู้ว่าความคิดตัวเองใช้ไม่ได้ เราจะคิดไปเรื่อยๆ - แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าความคิดตัวเองใช้ไม่ได้ ? - กรณีที่ถึงสัมมาทิฐิที่ได้จากการนำข้อมูลที่ฟังมาแล้วลงใจ - พอเกิดความคิดเกิดขึ้นและเป็นความคิดที่เป็นอัตตา,ตัวตน (ไม่เป็นไปกับสัมมาทิฐิ) ก็กลับมาที่ความรู้สึกได้เลยเพราะมีความเข้าใจเป็นพื้นอยู่ข้างในแล้ว - กรณีที่ยังไม่ถึงสัมมาทิฐิ - พอเกิดความคิดเกิดขึ้นและเป็นความคิดที่เป็นอัตตา,ตัวตน (ไม่เป็นไปกับสัมมาทิฐิ) ก็ต้องหยุดความคิดนั้นแล้วคิดใหม่ด้วยโยนิโสมนสิการเท่านั้น - เนื่องปัจจุบันอัตตาตัวตนและทิฐิของเราเป็นตัวสร้างความคิด และความคิดเราเป็นไปกับอัตตาตัวจน โดยที่เราไม่รู้ตัว ถึงแม้จะเป็นไปกับกุศล แต่ก็ยังเป็นไปกับงาม,เที่ยง,สุขและอัตตา อยู่ ดังนั้นถ้าเรายังคิดแค่ในห้วงเวลาปัจจุบันก็ยังต้องไปพรหมโลกต่อ ดังนั้นวางปัจจุบันก่อนแล้วให้ดูห้วงเวลาให้ครบ - วิชชา 3 - รู้ไกล (อดีต) - รู้กว้าง (ปัจจุบัน) - สัมมาทิฐิ 10 - รู้ลึก (อนาคต) - เมื่อใดที่เรารู้อดีต ⇒ อนาคตเหมือนอดีต - ปัจจุบันดูไม่ได้แค่ชาติเดียว - กรรมทำให้สัตว์แตกต่างกันแค่ชาติเดียว หรือชาติใกล้ๆ - กรรมนั้นจะทำให้สัตว์ไม่แตกต่างกัน หรือเสมอกันถ้ามองทั้งสังสารวัฏ (ทุกคติโดยส่วนมาก) - เป็นปัจจุบันที่พ้นจากกาลทั้ง 3 - เข้าถึงขันธ์ 5 (รูป - นาม) - ความสำคัญของปัจจุบัน - เพราะมีขันธ์ 5 (รูป - นาม) ไว้ให้สติสัมปชัญญะไว้เรียนรู้ คุณและโทษ
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
การมองในมิติอื่นๆ - ว่าโดยองค์มรรค - ภาคทฤษฏี (องค์มรรค 1) - สัมมาทิฐิ ทำให้มีความเห็นที่ตรงและสามารถข่ม สักกายทิฐิ ที่เป็นอุปนิสัย - กุศลเกิดก็เกิดไป แต่กุศลนั้นมีอุปนิสัยมาจาก งาม, เที่ยง, สุขและอัตตา - แต่เมื่อสัมมาทิฐิเกิดขึ้น จะข่มแบบกดเอาไว้ จึงทำให้เกิดการตัดกระแสที่เป็นอุปนิสัยเพื่อจะไปให้กุศลเกิดขึ้น - กุศลใดๆที่เกิดขึ้นจากสัมมาทิฐิ จะเริ่มเป็นสัมมาสังกัปปะ (องค์มรรค 2) - สัมมาทิฐิทำให้ สัมมาสังกัปปะ มีคุณภาพมากขึ้น - การปฏิบัติ (องค์มรรค 4) - ในขั้นที่เราเจริญ สมถะ และ วิปัสนา - สัมมาสังกัปปะ (องค์มรรค 2) (เป็นส่วนประกอบที่จะทำให้สติปัฏฐานระลึกในอารมณ์ที่ถูกต้อง) - คือ เนกขัมมะวิตก ⇒ ไม่ใช่กามวิตก (การยกจิตเข้าไปหาอารมณ์) - เป็นเหตุใกล้ของ - สมถะ (อานาปานสติ) - ถึงแม้เราจะยังไม่มีสัมมาทิฐิ แต่เราก็ยังสามารถฝึกสังกัปปะ คือ เนกขัมมะวิตก ได้ - สัมมาวายามะ คือการเพียรรักษากุศล - สัมมาสติ คือการเจริญอานาปานสติ - สัมมาสมาธิ คือสมาธิที่เกิดจากสัมมาสมาธิ หรือ สติปัฏฐาน - สมถะ เราจะเรียก อารัมมณูปนิชฌาน, อุปจาร, อัปปนา ก็ได้ - วิปัสนา เราจะเรียก ขณิก - สรุปทั้งหมดของคอร์สเราจะได้เจริญองค์มรรค (1 + 4 = 5)
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
- ปกิณกะ - กิจกรรมที่จะทำร่วมกัน
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
- ปฏิบัติ (องค์มรรค 4) - มีทั้งหมด 3 ส่วน - อานาปานสติ - สมถะ (เพ่งอารมณ์อย่างเดียว) - ⇒ ข่มกิเลสและสร้างสติ - วิปัสนา (การเรียนรู้ตามความเป็นจริง) - อิริยาบถบรรพในส่วนของการเดิน โดยมีสมถะเป็นบาทของเพราะสติยังไม่แข็งแรง - นั่งเจริญสติ (สัมปชัญญะบรรพะใช้แค่ 2 ประเภทคือ การคู้และเหยียด เพราะสภาวะนี้เกิดขึ้นเกือบทั้งวัน) - อิริยาบถบรรพ - การเดินจงกรมที่เกิดจากบาทของสมถะ เพราะสติของผู้ปฏิบัติยังไม่แข็งแรง - ถ้าหากเครื่องอยู่ของเรายังไม่มีคุณภาพ จิตจะส่งออกไปยัง ตา,หู,จมูก,ลิ้น,กาย,ใจ จะทำให้จิตเราจะพลิก - - สัมปชัญญบรรพ (ทั้งหมดมี 7 หมวด 22 ประเภท แต่ที่ใช้ในคอร์สนี้จะมีแค่สองประเภทเท่านั้น) - การคู้ - การเหยียด - เพื่อให้เรารู้จักสภาวะของบัญญัติที่ใกล้เคียงปรมัตถ์(สภาพธรรมตามความเป็นจริง) โดยให้จิตอยู่กับลมหายใจหรืออยู่กับฐาน จะทำให้จิตไม่ส่งออกไปกับนิมิตหรืออนุพยัญชนะ (มือ เป็นต้น) จึงทำให้ความรู้ของเรานั้นยังอยู่ใกล้กับปรมัตถ์หรือใกล้กับขันธ์ 5 โดยจะไม่มีแขนในที่สุด เมื่อสภาวะการคู้หรือการเหยียดปรากฏโดยเป็นธาตุลม ณ ฐานของความรู้สึก - ⇒ เห็นไตรลักษณ์ - สัมมาสังกัปปะ (อินทรีย์สังวรณ์) - การละ - ความเห็นผิดชั่วขณะโดย - การข่ม (วิขัมปน) - สันตานานุสัยโดยการข่ม
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
- ทฤษฎี #3 (ต่อ) - โยนิโสมนสิการ (เหตุใกล้ของกุศลธรรมทั้งปวง) - คือการพิจารณาอารมณ์ที่เป็นสัตว์,บุคคล ที่มากระทบให้ตรงกับธรรมะที่พระองค์ได้ทรงแสดงเอาไว้ให้ตรงกันได้ เช่น เรื่องกรรมและผลของกรรม หรืออริยสัจคือ ตัณหาเป็นเหตุแห่งทุกข์ - อุปมา - คล้ายกับน็อตตัวผู้, ตัวเมียและเกลียว โดยสิ่งที่มากระทบและธรรมะที่เกิดขึ้นในใจเราเป็นน็อตตัวผู้และน็อตตัวเมีย แต่ตอนแรกเกลียวอาจจะยังเข้ากันได้ไม่สนิท (มีแต่ศรัทธายังไม่ถึงปัญญา) แต่ถ้ามีปัญญา(ศรัทธาที่ถึงสัมมาทิฐิ)จะเข้ากันได้สนิท (การแทงตลอด) - องค์ความรู้ (ทำยังไงให้เข้าถึงความเป็นจริงของสังสารวัฏ) - รู้ไกล - รู้กว้าง - รู้ลึก - หลักการ (การเชื่อมต่อองค์ความรู้ให้เข้ามาถึงสัมมาทิฐิ) (ุ6+4 (SWOT)) 1. แนวทาง 2. การชี้น้ำทาง 3. การเชื่อมโยงทาง 4. การลำดับเส้นทาง 5. การให้เหตุผลของเส้นทาง 6. การตรวจสอบเส้นทาง 7. จุดแข็ง 8. จุดอ่อน 9. โอกาศ 10. อุปสรรค - วิธีการ - การย่อธรรมะทั้งหมดเอาไว้ในใจ แล้วขยายไปหาสัตว์,บุคคล เมื่อเราเจอวัตถุในชีวิตประจำวัน และสรุปความให้ตรงกับสุตตะ - เมื่อไรที่เราสรุปความสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วตรงกับสุตตะ เราจะเรียกว่าสุตตมยญาณ
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
- ทฤษฎี #2 (ต่อ) - วิธีที่ใช้ในการฟังที่ถูกต้อง - ขบวนการ 6 ใจ - การฟัง: ฟังเพื่อให้เกิดการข่มโดยอุปนิสัย ไม่ให้ความคิดหรืออัตตาของเราส่งความคิดที่เป็นอัตตา ตัวตน หรือสัตว์บุคคล ทำให้จากเห็นผิดเราจะเห็นถูกกับอารมณ์ที่วิปลาสได้ชั่วคราว - สิ่งที่ควรทำ - ฟังด้วยศรัทธาเลื่อมใส - ฟังด้วยฉันทะ (เรามีความรักที่จะฟังในสิ่งที่เป็นทางรอด) - จะทำให้รู้สึกไม่ง่วง - จะทำให้ไม่ฟุ้ง - จะทำให้เกิดการตกลงใจ - ฟังด้วยความตกลงใจ - อย่าคิดเทียบเคียงกับธรรมะที่เราถืออยู่ (เพิ่มเติมและต่อยอดเป็นหลัก) - การตั้งคำถาม - ข้อห้าม - ห้ามไปฟังเสียงอื่น - ห้ามใจไม่ให้ไปคิดกับ อดีตและอนาคต - ห้ามตา เพื่อให้มองเฉพาะผู้พูด - ให้ส่งความรู้สึกออกมาผ่านตา (ถ้าฟังผ่านหูอย่างเดียวสมองจะคิด แต่ถ้าหูฟังและตาดูจะทำให้ใจฟังด้วย) - ห้ามทำสมาธิ เพราะต้องเพ่งในอารมณ์เดียว - อุปมา - การดูหนัง - ตัณหา - โดยปกติแล้วเราดูหนังโดยใช้ตัณหาด้วยความรู้สึกต้องการที่จะสนุก ถ้าคิดระหว่างดูหนังจะไม่รู้เรื่องไม่ว่าอารมณ์ใดๆที่เกิดขึ้นกับหนังเราจะอินถึงแม้เรารู้ว่ามันเป็นไม่จริงในหนังเพราะว่าตัณหาสามารถหลอกสมองเราได้ รู้สึกเป็นไปกับเรื่องของมายา - สภาวะ - Emotion (รู้สึก) - Think (คิด) - ลักษณะเฉพาะ - โดยธรรมชาติตัณหาจะเกิดร่วมกันกับตัณหาด้วยกัน(สักกายทิฐิ) ⇒ ไม่สามารถเข้าถึงสัมมาทิฐิที่สามารถข่มสักกายทิฐิชั่วคราวได้ (วิกขัมพนสักกายทิฐิ) - ศรัทธา - การน้อมใจ - ระหว่างเวลาที่เราฟังธรรมะ เราควรจะต้องทำสองอย่างเพื่อให้เกิดการน้อมใจคือ 1. อย่าคิด เพื่อให้เอาข้อมูลเข้าไปเก็บไว้ในใจให้ลงใจให้ลึกและเป็นระเบียบเพื่อให้เกิดโอกัปปนสัทธา (ศรัทธินทรีย์) คือศรัทธาที่หยั่งลงไปในจิตใจ 1. ฟังเนืองๆ 2. คล่องปาก 3. ขึ้นใจ 2. คิดตอนที่จำเป็นต้องใช้ ⇒ ในชีวิตประจำวันเวลาที่เวลาเราได้รับความรู้เกี่ยวกับสัตว์บุคคลผ่านตาหูจมูกลิ้นกาย ตั้งแต่ตื่นจนกระทั่งหลับ โดยเอาข้อมูลที่เกิดเป็นระบบระเบียบจากความรู้สึกที่ศรัทธาไปก่อน - ยกตัวอย่างเช่น ชาวศรีลังกาสามารถน้อมไปหาวัตถุเช่น เจดีย์ โดยถูกสภาวะความเป็นกุศลและยังทรงไว้ได้ขณะหนึ่ง - ถึงสัมมาทิฐิที่สามารถข่มสักกายทิฐิได้ชั่วคราวในระหว่างที่นามรูปปรากฏ (วิกขัมพนสักกายทิฐิ) ด้วยลักษณะของการเห็นที่ถูกต้อง จนกระทั่งเกิดมรรคทำให้สักกายทิฐิขาด - Do or Die (ถ้าไม่ฟังไม่เข้าใจ ก็จะรอดยาก)
@drunkstudent9184
@drunkstudent9184 5 дней назад
คอร์สนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักคือ ทฤษฎี, ปฏิบัติ และปกิณกะ - ทฤษฎี (องค์มรรค 4) - คืออะไร - การฟัง (สุตะ) ที่ใส่ใจให้ถูกต้อง โดยศรัทธาที่เลื่อมใส เพื่อให้เป็นไปกับสุตมยญาณคือ ถึงพร้อมด้วยสัมมาทิฐิ(ปัญญา) - เพื่ออะไร - เข้าถึงปัญญาขั้นการฟัง (สุตมยญาณ) (สัมมาทิฐิที่พ้นไปจากโลก (โลกุตระ)) (ปัญญาที่เห็นความจริงของอริยสัจ) - ระดับ - เบื้องต้น - อริยสัจ 4 ของจิตเป็นอย่างไร - ท่ามกลาง - ขันธ์ 5 - ที่สุด - การพ้นไปจากขันธ์ 5 - อุปสรรค - ความคิด - เนื่องจากเวลาที่เราคิด เราใช้อัตตา, ทิฐิ หรือเรียกรวมๆว่า "ความเห็นผิด"(มิจฉาทิจฐิ) ที่ถูกสั่งสมมาเนิ่นนานในสังสารวัฏด้วย "ความไม่รู้"(อวิชชา) ทำให้เรามี "มีความยึด"(อุปทาน) ที่เกิดจาก "ความอยาก"(ตัณหา) ที่เราไปยินดีพอใจในขันธ์ 5 อย่างรวดเร็วจนเราไม่สามารถที่จะระลึกได้ทัน - ปุริมตัณหา คือ ตัณหาที่เกิดแรกๆที่เข้าไปยึดขันธ์ 5 - กามุปาทาน คือ ตัณหาที่เกิดหลังๆและทำให้เกิดความเห็นผิดในสภาพธรรมนั้น โดยการยึดเข้ามาเป็น เรา, ของๆเรา เป็นอัตตาของเรา - สรุป: ถ้าฟังธรรมด้วยความคิดเราจะเป็นไปกับความเข้าใจ ทำให้ไม่สามารถที่จะเข้าถึงขันธ์ 5 ได้ เพราะมีอุปนิสัยมาจากความเห็นผิดว่า งาม, เที่ยง, สุข และอัตตา (แต่ในความเป็นจริงธรรมะคือ ไม่งาม, ไม่เที่ยง, ทุกข์และอนัตตา) ที่เกิดขึ้นมาจากตัณหาโดยที่เรามองไม่เห็นว่าความคิดเราผลิตมาจากอะไรและไปปรุงแต่งต่อจากความคิดแรกๆ - "ความอยาก" เข้าไปยินดีพอใจในขันธ์ 5 โดยกระบวนการทำงานนี้มีความรวดเร็วมากจนเราระลึกรู้ได้ไม่ทัน ทำให้ระหว่างที่เราคิดจะเกิดความเป็นเรา, เป็นของของเรา
@user-qu7ii8ci4l
@user-qu7ii8ci4l 5 дней назад
น้อมกราบสาธุเจ้าค่ะพระอาจารย์
@oo0khwan0oo
@oo0khwan0oo 5 дней назад
กราบสาธุ ท่านกล่าวถูกอย่างยิ่ง🙏🏻🩵
@tuangpornsaekhow6752
@tuangpornsaekhow6752 5 дней назад
กราบอนุโมทนาสาธุค่ะท่าน
@tkbp1422
@tkbp1422 5 дней назад
เริ่มจากบทไหนก่อน
@tkbp1422
@tkbp1422 5 дней назад
เริ่มต้นเรียนอ่ะไรก่อน
@tuangpornsaekhow6752
@tuangpornsaekhow6752 5 дней назад
กราบอนุโมทนาสาธุค่ะ
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 5 дней назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 5 дней назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@oo0khwan0oo
@oo0khwan0oo 6 дней назад
กราบสาธุค่ะ🙏🏻🩵
@artych.469
@artych.469 6 дней назад
กราบอนุโมทนา สาธุๆๆๆ ค่ะ
@user-rh2mh8sq2g
@user-rh2mh8sq2g 6 дней назад
สาธุสาธุๆๆ
@user-rh2mh8sq2g
@user-rh2mh8sq2g 6 дней назад
กราบสาธุๆๆเจ้วค่ะ
@chinwantereekul9070
@chinwantereekul9070 6 дней назад
กราบอนุโมทนา สาธุ สาธุ สาธุ ค่ะ พระอาจารย์
@user-kh7ob6qn6r
@user-kh7ob6qn6r 6 дней назад
ชาตินี้อยากเข้าไปกราบพระอาจารย์สักครั้ง
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 6 дней назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 6 дней назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 6 дней назад
❤️🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@ratchaneec8295
@ratchaneec8295 6 дней назад
🙏🏼🙏🏼🙏🏼
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 6 дней назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️
@user-kb9jo6eg4h
@user-kb9jo6eg4h 6 дней назад
❤🪷🙏🙏🙏🪷❤️