Тёмный

เรียนรู้จากข่าว : รู้จักโรคอัลไซเมอร์จนถึงระดับ Cell 

หมอเฉพาะทางบาทเดียว
Просмотров 331 тыс.
50% 1

เรียนรู้จากข่าว : รู้จักโรคอัลไซเมอร์จนถึงระดับ Cell
โรคอัลไซเมอร์ Alzheimer
ภาวะสมองเสื่อมคืออะไร
สมองเสื่อม เป็นภาวะที่สมรรถภาพการทำงานของสมองถดถอยบกพร่องในด้านการรู้คิด ได้แก่ ความจำ การตัดสินใจ การวางแผน และบริหารจัดการ การรับรู้รูปทรง และการกะระยะ การใช้ภาษา สมาธิ หรือ ความใส่ใจ ความสามารถในการรับรู้เกี่ยวกับสังคมรอบตัว โดยมีผลกระทบต่อความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันและการเข้าสังคม
สมองเสื่อมเกิดได้จากหลายสาเหตุ ทั้งสาเหตุที่แก้ไขได้และแก้ไขไม่ได้ เช่น โรคอัลไซเมอร์ โรคหลอดเลือดสมอง โรคพาร์กินสัน เนื้องอกสมอง โพรงน้ำในสมองขยายตัว โรคขาดฮาร์โมนต่อมไทรอยด์ โรคติดเชื้อบางชนิด เช่น ชิฟิลิสและเอดส์ เป็นต้น ปัจจบันพบโรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุของภาวะสมองเสื่อมที่พบบ่อยที่สุด
โรคอัลไซเมอร์คืออะไร
โรคอัลไซเมอร์ เป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะสมองเสื่อม และเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด โดยความชุกของโรคจะเพิ่มขึ้นตามช่วงอายุ พบความชุกร้อยละ 10-15 ในประชากรที่อายุมากกว่า 65 ปี และพบร้อยละ 20-30 ในประชากรที่อายุมากว่า 80 ปี
สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์เกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในสมองจนบางส่วนของสมองทำหน้าที่ลดลง เกิดการฝ่อ ทำให้กระทบกับการทำงานของสมองส่วนนั้น และแสดงอาการต่าง ๆ ออกมา เช่น หลงลืม ถามซ้ำ ๆ ฯลฯ อย่างไรก็ตามยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดของโรคอัลไซเมอร์ มีการศึกษาพบว่าในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มีการสะสมของโปรตีนบางชนิด เช่น อะไมลอยด์ (amyloid) และ ทาว (tau) มากกว่าปกติ
อาการของโรคอัลไซเมอร์เป็นอย่างไร
ผู้ป่วยจะมีปัญหาด้านความจำเป็นอาการหลัก ผู้ป่วยจะไม่สามารถจดจำ และเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้ จึงมักจะลืมว่าวางของไว้ที่ไหนทั้งที่พยายามจำ ถามซ้ำ ๆ พูดซ้ำ ๆ เป็นต้น
เมื่อโรคดำเนินไปจะทำให้เกิดความบกพร่องของการรู้คิดด้านอื่นร่วมด้วย เช่น หลงทาง คิดเลขไม่ได้ ไม่สามารถจัดการกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐานได้เอง มีปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาพฤติกรรม และความผิดปกติทางจิตตามมา เช่น หงุดหงิด เฉื่อยชาและเฉยเมย ขาดการยับยั้งชั่งใจ มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน เป็นต้น
ปัจจัยเสื่องของการเกิดโรคอัลไซเมอร์
อายุที่เพิ่มขึ้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่สุด โดยพบว่าหลังอายุ 65 ปี ผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเพิ่มเป็น 2 เท่าในทุก ๆ 5 ปีที่อายุมากขึ้น อย่างไรก็ตามมีผู้ป่วยที่มีอายุต่ำกว่า 65 ปีด้วยเช่นกัน
พันธุกรรม เช่น มีญาติสายตรงในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคนี้หลายคน , มียีนบางอย่างเช่น ApoE4 เป็นต้น
การได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะ มีรายงานการศึกษาทางระบาดวิทยาหลายรายงานพบว่า ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์และภาวะสมองเสื่อมจากสาเหตุอื่น ๆ มีประวัติเคยได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะมากกว่าคนที่ไม่มีสมองเสื่อม อย่างไรก็ตามในบางการศึกษาไม่พบว่าการได้รับอุบัติเหตุที่ศีรษะมาก่อนเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะสมองเสื่อม
พบว่าโรคอัลไซเมอร์มีส่วนที่เกิดจากโรคของหลอดเลือด รวมถึงพบร่วมกับโรคหลอดเลือดในสมองได้บ่อย ดังนั้นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจึงอาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ด้วย ดังนี้
น้ำหนักเกินมาตรฐาน การขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวานการป้องกันโรคอัลไซเมอร์
เนื่องจากยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ การป้องกันโรคจึงเป็นการลดปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้เกิดโรคดังนี้
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว และโคเลสเตอรอลสูง
การดูแลรักษาผู้ป่วยสมองเสื่อมอัลไซเมอร์
ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานการรักษาโรคให้หายขาด จึงมุ่งเน้นการดูแลรักษาเพื่อช่วยลดความพกพร่องทางการรู้คิด และสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถประกอบกิจวัตรประจำวันและเข้าสังคมได้มากที่สุด โดยแบ่งเป็น
การรักษาโดยไม่ใช้ยา (Non-Pharmacological Management)
การรักษาด้วยวิธีนี้มีอยู่หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับภาวะความรุนแรงของโรคและขีดความสามารถในการเรียนรู้ของผู้ป่วยแต่ละราย โดยมุ่งเน้นให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมตามระยะของโรค ดังนี้
1.1การดูแลเรื่องกิจวัตรประจำวันและการฝึกทักษะการเข้าสังคม
ให้ผู้ป่วยได้ร่วมดูแลเรื่องกิจวัตรประจำวันของตนเองโดยมีผู้ดูแลคอยสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือตามขีดความสามารถของผู้ป่วย
สนับสนุนให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมที่มีส่วนร่วมในสังคมครอบครัวและสังคมภายนอกตามความเหมาะสม
1.2การดูแลปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ลดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้อาการแย่ลง เช่น เสียงรบกวน รวมถึงการปรับสภาพที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัยง่ายต่อการใช้งาน เช่น ให้พื้นเรียบ ไม่มีของเกะกะทางเดินและแสงสว่างเพียงพอ เพื่อลดการเกิดอุบัติเหตุ
1.3การให้ความรู้กับผู้ดูแลผู้ป่วย
เนื่องจากผู้ป่วยจะเข้าสู่สภาวะที่ต้องพึ่งพา ผู้ดูแลเป็นบุคคลสำคัญที่สุดที่ต้องเข้าใจการดำเนินของโรค และความรู้เกี่ยวการดูแลผู้ป่วยในแต่ละระยะของโรค รวมไปถึงสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ดูแลผู้ป่วย
1.4การฟื้นฟูผู้ป่วยสมองเสื่อมด้านกายภาพ
เนื่องจากผู้ป่วยที่มีอาการสมองเสื่อมอาจมีขีดความสามารถในการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้ลดลง การปรับอุปกรณ์ให้ง่ายต่อการใช้งานหรือปรับกิจกรรมให้เรียบง่ายและปลอดภัย รวมไปถึงการฝึกการกระตุ้นระบบประสาทสัมผัสโดยการบีบ จัด นวด การกระตุ้นกิจกรรมการเคลื่อนไหวจะทำให้ผู้ป่วยได้ฝึกสมรรถภาพทางกายภาพได้ดียิ่งขึ้น
1.5การดูแลด้านพฤติกรรมและจิตบำบัด
ปัญหาเรื่องพฤติกรรมและอารมณ์เป็นความผิดปกติที่พบได้บ่อย อาจต้องใช้การรักษาควบคู่ทั้งการรักษาด้วยยาและพฤติกรรมและจิตบำบัด อาจใช้การให้ความรู้แก่ผู้ดูแลเพื่อให้เข้าใจผู้ป่วยและมีวิธีการดูแลได้อย่างเหมาะสม เช่น การเบี่ยงเบนความสนในผู้ป่วยออกจากเรื่องที่กำลังหงุดหงิดหรือโมโห การเสริมสร้างด้านอารมณ์ด้วยดนตรีบำบัด เป็นต้น
"

Опубликовано:

 

2 окт 2024

Поделиться:

Ссылка:

Скачать:

Готовим ссылку...

Добавить в:

Мой плейлист
Посмотреть позже
Комментарии : 449   
@minnie007able
@minnie007able 2 года назад
อย่าทานโปรตีนเยอะ กินผักเขียวเยอะๆ เบอรี่ ข้าวโอ๊ต ธัญพืช ปลาแซลมอน mind diet ผัก3 ส่วน ข้าว ลดโปรตีน เพิ่ม antidioxidant กินผักมากขึ้น ผลไม้มากขึ้น อย่ากินเกลือมาก
@คนดีผีคุ้ม-ฉ5ฏ
ปรกติก็ไม่ค่อยได้ทานอยู่แล้ว เพราะไม่มีตังค์ซื้อ😅จ้ะ
@atiwatrienthong102
@atiwatrienthong102 Год назад
ขอบคุณครับ
@จิรัศยาใจอ่อน
@จิรัศยาใจอ่อน 10 месяцев назад
@@คนดีผีคุ้ม-ฉ5ฏ ใช่ค่ะ
@Me-qz2lw
@Me-qz2lw 10 месяцев назад
อย่าทานโปรตีนเยอะ จะเป็นโรคขาดสารอาหารเอา แรงก็จะไม่มี สมองก็จะเหน่อยล้า คิดอะไรก็ไม่ออก ตื้อๆ โปรตีนเป็นสิ่งสำคัญ
@อดุลย์เก็มเด็น-ฝ8ว
​@@Me-qz2lwต้องดูด้วยครับว่าเป็นโปรตีนประเภท​ไหน​
@TXTH4321
@TXTH4321 2 года назад
อยู่เมกาเคยทำเนริสซิ่งโฮม แผนกอัลไซเมอร แต่เป็นระยะเริ่มต้น เค้าเรียกแผนกเรา younger คนไข้ พูดๆซ้ำๆ หลงลืม แต่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง แต่อายุบางคนที่เสียร่วม 100 พอเริ่มเปลี่ยนระยะต้น เป็นมากขึ้น เริ่ม นั่งดูอาหาร ไม่ริุวิธีการกิน ต้องป้อน ถ้าป้อน แล้วบอกว่า เคี้ยว เค้าเคี้ยวได้ okay บอกให้กลืนแล้ว ยังกลืน okay แต่กลุ่มที่ ป้อน แล้วไม่เคี้ยว ไม่กลืน พยาบาลจะโทรแจ้งครอบครัว เตรียมสั่งลาได้ เตรียมงานได้ พยาบาลจะให้ยา ทำให้พวกคนไข้ค่อย ผ่อนคลาย หลับนานมากขึ้นแล้วค่อยๆ ไปเอง
@DoctorNearU
@DoctorNearU 2 года назад
ขอบคุณที่มาเล่าประสบการณ์ให้ฟังครับ
@TXTH4321
@TXTH4321 2 года назад
ขอบพระคุณคุณหมอเช่นกันค่ะที่แชร์ข้อมูลค่ะ
@mythaichannel9082
@mythaichannel9082 2 года назад
เคสคนไข้ ของเรา ตอนนี้ ทำ hospice home care เลย ค่ะ
@oilovetaam
@oilovetaam 5 месяцев назад
ตอนนี้เรา 51 จำไม่ได้ว่าจะเดินไปหยิบอะไร แล้วนึกออก พูดใช้คำผิด แล้วก็เข้าใจอะไรซับซ้อนไม่ไว แถมลืมจะเก็บครีมทาหน้าดันไปเปิดตู้เย็น แต่ฉุดนึกได้อยู่ แล้วก็จะพูดไรลืม แล้วจะเล่าสิ่งที่ฟังมานึกไม่ออก เรากำลังจะสมองเสื่อมไหมคะ เราเป็นไบโพล่าร์ 16 ปี ไม่รู้เราเริ่มสมองเสื่อมไหมคะ เป็นอาการเริ่มต้นไหม
@wanichaV
@wanichaV 2 месяца назад
​@@oilovetaamลองไปเชคดูน่ะค่ะ
@MOM-ob6ek
@MOM-ob6ek 2 года назад
จะบอกให้นะแถวบ้านมีคนเป็นอัลไซเมอร์ทุกบ้านรวมทั้งคนในครอบครัวฉัน......คนที่เป็นนะ...ตอนที่เติบโตมามีครอบครัวชอบบ่นด่าว่า...บางคนหยาบคายตั้งแต่ยังไม่แก่....ขี้อิจฉา...พอแก่อาการเริ่มมากขึ้นๆๆๆๆบางคนแก้ผ้าในบ้านผ้าผ่อนไม่นุ่ง....จำลูกไม่ได้...ลืมกินน้ำ.....ลืมกลืน...ลืมว่าเดินยัง...ลุกยังไง...ต้องใจเย็นๆค่อยๆพูดให้กำลังใจ.....เขาจะค่อยเลวลงอย่างช้าๆ....ไม่งั้นจะเป็นทรุดเร็วมาก.....น่ากลุ้มใจไปไหนต้องพาไปดูแลใกล้ชิด....ปล่อยไปเองไม่ได้....ความรักความเคารพต้องมีให้เขาเสมอ....อย่าพูดเหมือนเขาเป็นคนบ้าไปแล้ว..และคิดว่าเขาไม่รู้....เขารู้ๆหายๆ...ใจไม่เย็นพอไม่ต้องทำเพราะจะทำทุเรศกะคนไข้..จะเป็นบาปนะ...อย่าคิดว่าคนที่จ้างมาจะะทำดีกะคนไข้...คนที่จ้างมาแค่ต้องการเงินลับหลับเรามันต่ำทรามมาก... .ติดกล้องไว้ดูด้วย
@นลินพรรณเฉลิมเมือง
ชอบคุณหมอมากๆคะ ชอบตรงที่ไม่ต้องทำตามฝรั่ง ถูกคะ กินผักเยอะๆช่วงหนูกินผักเยอะ ลดโปรตีน ดีขึ้นมากคะ หนูน่าจะเป็นระยะที่ 2 คะ เพราะหนูเป็นโรคทางจิตเวชมานาน
@2gether4ever247
@2gether4ever247 2 года назад
ถ้าอายุขึ้นเลข 6 ให้ลดการกินโปรตีนลง ควรกินโปรตีนกี่กรัมคะ กินโปรตีนน้อย ร่างกายจะขาดแล้วไปสลายมวลกล้ามเนื้อไหมคะ
@小川愛-h1p
@小川愛-h1p 2 года назад
เคยบอกหมอไปแล้วครั้งนึงคะ คนญี่ปุ่นเป็นโรคความจำเสื่อมอายุต้องบอกว่าโคตรอายุยืนเลยค่ะที่พี่ดูแลอยู่อายุน้อยสุด49อายุสูงสุด104ปีค่ะตอนนี้ก็ยังอยู่ค่ะ
@kompassorn9451
@kompassorn9451 2 года назад
อัลไซเมอร์สามารถเรียกได้ว่าเป็นเบาหวานประเภทที่ 3 หรือ type 3 diabetes การป้องกันและรักษาก็เช่นเดียวกันกับเบาหวานประเภทที่ 2 คือให้ลดการดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) ของร่างกายให้ได้ ด้วยการกินอาหารที่กระตุ้นอินซูลินน้อยร่วมกับการอย่ากินบ่อยเพราะทุกครั้งที่กินจะเป็นการกระตุ้นให้ร่างกายหลั่งอินซูลินออกมา สรุปคือให้กินโปรตีนให้พอดีและเสริมด้วยไขมันธรรมชาติ สำหรับผู้ที่ป่วยแล้วห้ามกินคาร์โบไฮเดรตโดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรตแปรรูป (ถ้ายังไม่ป่วยก็กินคาร์บธรรมชาติได้ พวกข้าว พวกผลไม้) ห้ามดื่มแอลกอฮอล์ ร่วมกับการไม่กินบ่อยหรือทำ IF ถ้าทำได้ทั้งเบาหวานประเภท 2 และ 3 หายแน่นอน รวมถึงโรคอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการดื้ออินซูลินด้วย เช่น อ้วน ความดันสูง โรคหลอดเลือดอุดตัน ไขมันพอกตับ ไต ฯลฯ
@OHsLifeVlog
@OHsLifeVlog 2 года назад
+1 เห็น​ด้วยค่ะ​
@aorpharm9973
@aorpharm9973 2 года назад
พอแนะนำเมนูอาหารได้ไหมคะ
@2929twentynine
@2929twentynine 2 года назад
@@aorpharm9973 ลองศึกษาช่อง Loy Academy ดูครับ
@kompassorn9451
@kompassorn9451 2 года назад
​@@aorpharm9973 เมนูก็เช่น เสต็กต่างๆที่ปรุงด้วยเกลือหรือพริกไทเท่านั้น ไม่เอาเฟรนช์ฟราย ไม่เอาขนมปัง ปลานึ่ง ไข่ต้ม/ตุ๋น/ดาวด้วยน้ำมันหมู หลีกเลี่ยงน้ำมันพืช(ทำให้ต้องงดของทอดน้ำมันท่วมๆ ดีพฟราย ไปโดยปริยาย) สำหรับคนป่วยให้งดผลไม้ด้วย(ยกเว้นอะโวคาโด้) สำหรับคนที่ยังไม่ป่วยก็ให้กินผลไม้ อย่าดื่มน้ำผลไม้ พวกถั่วตระกูลนัทกินได้ เช่น พิธาชิโอ้ แมคาดิเมีย ฯลฯ แต่อย่าเผลอกินเยอะ เมนูมันจะไม่หลากหลายแบบอาหารทั่วไปที่เรากินหรอก สุดท้ายมันจะวนซ้ำ ลองหาดูหลายๆช่องทั้งไทยทั้งตปท.จะได้เมนูเพิ่มขึ้นครับ
@wiwbib
@wiwbib 2 года назад
จริงๆเราเข้าใจสิ่งที่คุณพูดนะเพราะเป็นสิ่งที่เราเคยทำมาแต่สิ่งที่คุณพูดทั้งหมดขัดแย้งกับสิ่งที่คุณหมอพยามอธิบายเลยเพราะคุณหมอให้ลดโปรตีนให้ทานเน้นผักสี่สี่เป็นหลักแต่การที่จะดับอินซูลินให้มันเกิดการกระตุ้นน้อยก็ต้องไม่ทานคาร์โบไฮเดรตและถ้าจะให้ผลอย่างที่คุณพูดแม้แต่ผักก็กินไม่ได้ด้วยซ้ำ
@PingpongSarunnat
@PingpongSarunnat 2 года назад
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ ที่ช่วยให้ความกระจ่าง เกี่ยวกับ โรค Alzheimer จะรีบปรับเรื่องอาหารให้เหมาะสมโดยด่วนค่ะ 🙏
@WLee-rx9cl
@WLee-rx9cl 2 года назад
คุณหมออธิบายดีมากๆค่ะ เคยอ่านหนังสือที่ภรรยาดูแลสามีตั้งแต่เริ่มมีอาการของโรคจนเสียชีวิต เป็นโรคที่น่ากลัว วันนี้ฟังคุณหมอแล้วทำให้รู้ถึงสาเหตุและแนวทางการป้องกัน เป็นประโยชน์จะได้นำไปปฏิบัติ ขอบคุณค่ะ
@yupakaw9216
@yupakaw9216 2 года назад
ชื่อหนังสืออะไรคะ อยากอ่าน
@Hurricane0499
@Hurricane0499 2 года назад
⏰😱⏰😱👧👜⤵ ru-vid.com/video/%D0%B2%D0%B8%D0%B4%D0%B5%D0%BE-WckxssiEB6E.html👈
@angelkae2001
@angelkae2001 2 года назад
ชื่อหนังสืออะไรคะพี่
@luckyruethairat5842
@luckyruethairat5842 2 года назад
กินผักเยอะ กินเนื้อสัตว์น้อยลง กินอาหารรสจืดเกลือน้อย ขอบคุณมากนะคะ คุณหมอ
@huiprettyful
@huiprettyful Год назад
ขอบคุณ คุณหมอมากๆเลยค่ะ ที่อธิบายอย่างละเอียด ทำให้เข้าใจง่ายค่ะ อนุโมทนากับคุณหมอด้วยค่ะ
@wanhawkins3513
@wanhawkins3513 11 месяцев назад
อธิบายสุดชัดเจนค่ะ..ตัวเอง อ่านข้อมูลจาก เมโย คลืนิคใด้..สิ่งที่ใด้เพิ่มเติมจากคำ อธิบายของคุณหมอคือ..ข้อมูล..ความเอื้ออาทร. และกำลังใจ.. อายุ 67. เรื่มสังเกตุอาการด่นชัด..จำ locking in computer code ซี่งใช้มา สามปีไม่ใด้..ใช้เวลานืกเกือบ ช.มไม่ใด้ผล..พอหา code เจอก็ไม่ใกล้เคียงกับที่จำใด้เลย..ความจำเสื่อมแน่ไม่สงสัยค่ะ..ก็จะเริ่มที่ Mind Diet ตามที่หมอแนะนำค่ะ❤❤❤❤ แ
@DoctorNearU
@DoctorNearU 11 месяцев назад
ขอบคุณครับ🙏😊❤️
@pongsukthanaboonchai3545
@pongsukthanaboonchai3545 2 года назад
ขอบคุณคุณหมอ ที่เสียสละเวลามาให้ความรู้ค่ะ ติดตามทุกคลิปค่ะ
@kanokwantanwatnah7744
@kanokwantanwatnah7744 2 года назад
ขอบคุณมากๆค่ะคุณหมอ อธิบายได้ชัดเจนเห็นภาพ เข้าใจได้ไม่ยาก หากตั้งใจ ดีมากๆค่ะ เป็นประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์คนไทยและผู้สนใจ ฟังภาษาไทยได้ทั่วโลกค่ะ ขอให้คุณหมอมีความสุข ค่ะ
@wanphensukniran1429
@wanphensukniran1429 5 месяцев назад
ขอบคุณมากๆค่ะ​ สนใจเรื่องอัลไซเมอร์มากๆค่ะ❤
@ป้านิภาพรเอง
สวัสดี​ค่ะ​ คุณ​หมอ​ ขอบพระคุณ​นะคะ​ที่สละเวลา​ ให้ความรู้​ ขอให้ท่านและ​ครอบครัว​มี​แต่​ความสุข​ และ​สุขภาพ​แข็งแรง​นะ​คะ​
@mythaichannel9082
@mythaichannel9082 2 года назад
เรา ทำงานเป็น Senior Caregiver จะได้เจอและเห็น คนแก่ที่มีภาวะเหล่านี้เยอะมาก จริงๆ คนไข้เรามีหลายคนเลย ที่หลับเกือบตลอดเวลา ต้องคอยปลุกให้ตื่น คอยหาอะไรให้เค้าทำ เค้าจะได้ไม่หลับ เหนื่อยนะ เข้าใจคนดูแล เลยว่าเหนื่อยแค่ไหน
@เอกภักดี-ฑ3ร
@เอกภักดี-ฑ3ร 2 года назад
แล้วพวกนี้เหมือนกันอยู่อย่างคือ อายุยืน เกิน90แทบจะทั้งนั้น คือร่างกายเขาดีหมด เสียที่สมองไม่เหลือแล้ว
@mythaichannel9082
@mythaichannel9082 2 года назад
@@เอกภักดี-ฑ3ร จริง เหมือนเป็นโรคเวรโรคกรรม ของเขาอ่ะ บางครั้งเรายังนึกสงสาร คนในครอบครัวเขาเลย ที่ต้องคอยดูแลคนที่ป่วยเหล่านี้ ถ้าไม่มี caregiver ช่วยนี่ พวกเขาจะไหวมั้ยนะ
@pimansukjai5432
@pimansukjai5432 2 года назад
เพิ่งฟัง clip ของคุณหมอ นี่คือ clipที่ 3 เป็นอีกครั้งที่ชอบมาก คิดว่าเลือก content มาดี มีศิลป การนำเสนอ กดติดตามตั้งแต่หลังฟัง clip ที่ 2 ต่อจากเรื่อง stroke ( the first clip that I have listened to from your channel. In my view, this is for lucky listeners including myself.) คือพอเจอ clip ที่ 2 ที่ว่าด้วยเรื่อง aftershock ของ stroke ก็ กด follow เลย คุณหมอบอกและเสมือนเป็นเพื่อนคอยเตือนภัย ขอบพระคุณอย่างยิ่ง ไหนๆ มีบุญได้มาฟังก็จะคอยติดตามต่อไป 👍👍👍👍👍
@jeab072
@jeab072 2 года назад
คุณหมออธิบายเป็นขั้นเป็นตอน ที่มาที่ไป ไม่เร็ว และสรุปได้ดีมากค่ะ ยอดเยี่ยมไปเลยค่ะ
@thailandfinland1973
@thailandfinland1973 2 года назад
หลงๆลืมๆความจำสั้น ตั้งแต่เด็ก จนตอนนี้อายุ49 หนักขึ้น จำได้ทีละอย่างสองอย่าง กลุ้มใจมากเลย อนาคตไม่ต้องห่วง
@sawarotungkrathoke3406
@sawarotungkrathoke3406 2 года назад
ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ คลิปนี้ทำให้ได้ความรู้มากมายจริงๆ🙏💞
@amphornsaraphorn8780
@amphornsaraphorn8780 Год назад
กราบขอบคุณ คุณหมอมากค่ะ ดิฉันกลัวเช่นกันค่ะ ก็ระวังกินผักเยอมากทุกวัน กินเนื้อสัตว์น้อยมากค่ะ เพราะคุณพ่อของดิฉันท้ายอัลไซเมอร์ค่ะ ต่อไปนี้จะทำตามคุณหมอแนะนำค่ะ ขอให้คุณหมอมีแต่ความสุขและเจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้นในหน้าการงาน ดูแลคนไข้แต่อย่าลืมดูและตัวเองนะคะ คุณหมอน่ารักค่ะ ขอบคุณอีกครั้งค่ะ❤❤❤
@DoctorNearU
@DoctorNearU Год назад
ขอบคุณมากเช่นกันครับ ขอให้สุขภาพแข็งแรง โรคไม่กล้ำกราย
@prasertaraya3249
@prasertaraya3249 9 месяцев назад
คุณหมอเตรียม ข้อมูล และ การ presentation ได้ดีมากๆค่ะ
@ilovefood2485
@ilovefood2485 2 года назад
เข้ามาวนดูอ.หลายรอบแล้ว เริ่มสงสัยตัวเองแล้วละซิ😋☺
@WaravuzAckraseranee
@WaravuzAckraseranee 2 года назад
ปกติต้องกินโปรตีนเสริมเพื่อรักษากล้ามเนื้อโดยเทียบกับน้ำหนักตัว (ไข่+เวย์) ฟังคลิปคุณหมจบ ผมทำตัวไม่ถูกเลย
@atchara-kasira8360
@atchara-kasira8360 2 года назад
ขอบคุณข้อมูลดีๆมีประโยชน์ค่ะ และเสียงคุณหมอเพราะมากกก😄
@phatinawin2830
@phatinawin2830 2 года назад
ขอบพระคุณคุณหมอมากๆค่ะ เพิ่งดูคุณหมอครั้งแรก ได้ความรู้และมีประโยชน์มากๆค่ะ ขอเป็นกำลังใจให้คุณหมอในการทำคลิปต่อๆไปนะคะ
@krongkaewarunsiri8866
@krongkaewarunsiri8866 2 года назад
ขอบพระคุณค่ะคุณหมออธิบายฟังสบายค่ะเข้าใจง่าย อนุโมทนาสาธุค่ะ🙏❤️
@pantapoonsapmanee5038
@pantapoonsapmanee5038 2 года назад
ขอบพระคุณมากค่ะ คุณหมอ ที่พยายามสื่อให้เข้าใจง่าย และเป็นความรู้ที่มีประโยชน์มาก อนุโมทนาด้วยนะคะในความเมตตา จะติดตามคลิปที่น่าสนใจต่อไป ขอให้บุญรักษาคุณหมอด้วยค่ะ
@สุภาณีวินัยจรูญ
คุณหมออธิบายดีมากค่ะทำให้เข้าใจและรู้วิธีป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้และการกินอาหารที่ถูกต้อง ขอบคุณมากไปค่ะ ขอพระเจ้าคุ้มครองคุณหมอแลอวยพรกิจการงานเจริญขึ้นค่ะ
@บุญเหลือชาติราษี
ขอบคุณครับคุณหมอจากชาวนา.ภูเขียวจัหวัดชัยภูมิ
@อรพรรณสมวงศ์
เป็นโรคอัลไซเมอร์จำไม่ได้ว่าต้องผ่อนโน่นนี่ ลืมจ่ายค่าน้ำค่าไฟ อาการกำเริบช่วงปลายเดือนค่ะ
@weyarepaya7404
@weyarepaya7404 10 месяцев назад
😂😂😂😂😂
@jintanazealand68
@jintanazealand68 Год назад
วันนี้คุณหมอพูดเรื่อง อัลไซค์เมอร์น่าสนใจมากๆค่ะสำคัญมากกับมนุษย์เราเพราะสมองเป็นส่วนที่สำคัญมากของร่างกาย😊😊😊 ฟังย้อนอีกค่ะ ขอบคุณมากค่ะ❤
@DoctorNearU
@DoctorNearU Год назад
ขอบคุณครับ❤️❤️❤️
@th.ru.7887
@th.ru.7887 2 года назад
ถึงจะเป็นคลิปที่ออกจะใช้เวลาหน่อย แต่เป็นคลิปที่เข้าใจง่าย ได้ใจความ รู้แบบแตกฉาน...ขอบคุณ คุณหมอมากๆค่ะ
@นันเจริญเสียง
@นันเจริญเสียง 5 месяцев назад
พันธุกรรม ก็สำคัญ ในทุกๆโรค
@kannikakriengyakul1382
@kannikakriengyakul1382 2 года назад
ขอบคุณสาระความรู้ดีๆที่คุณหมอสละเวลามาให้ความรู้ค่ะ เป็นประโยชน์มากๆค่ะ
@sirinatridhi1832
@sirinatridhi1832 Год назад
ฟังง่าย เข้าใจได้ค่ะ เล่าแบบสบาย ๆ ดีมาก ๆ น่าติดตามขอบคุณค่ะ
@DoctorNearU
@DoctorNearU Год назад
ขอบคุณมากครับ❤️🙏
@miram.9567
@miram.9567 Год назад
มีเพื่อนฝรั่งเป็นผู้หญิงเธอเราเคยทำงานด้วยกัน แต่เธอเริ่มเป็นโรคนี้เมื่ออายุเริ่ม 40 ปีเพราะคุณพ่อของเธอก็เป็นโรคนี้ (ผู้ชายอาจจะมีอายุอยู่ได้ไม่นานเท่าผู้หญิง)เพราะตอนนั้นเธอลาออกจากงาน และได้กลับไปประเทศของเธอ ไม่มีใครทราบว่าทำไม แต่ทุกคนคาดว่าสัญญาการทำงานสิ้นสุดลง แต่ดิฉันได้ติดต่อเธอกลับไป หลังจากนั้นก็ติดต่อมาเรื่อยๆจนเมื่อ แปดปีที่ผ่านมาการสื่อสารลำบากมาก เลยขาดการติดต่อตั้งแต่นั่นมา เธอเคยเล่าให้ฟังว่าเธอมีอาการแปลกๆ ตั้งแต่เป็นวัยรุ่น และจะเริ่มเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ตอนนี้เธออายุ ห้าสิบกว่า เท่าที่สังเกตุผู้หญิงฝรั่งที่เป็นโรคนี้จะมีอายุยืนมากๆเลย บางคนอยู่ถึงแปดสิบปีได้สบายๆถ้ามีการดูแลดีๆ
@cj-oo6xq
@cj-oo6xq Год назад
ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ แม่กำลังป่วยแต่โชคดีมากที่แม่จากอารมณ์ดิ่งร้องไห้ทั้งวัน ปัจจุบันก็ขำไม่ทราบสาเหตุสลับกับเป็นกังวลเรื่องเก่าๆที่ผ่านมานานนน...แต่ดีที่ดิฉันลดโซเดียม,น้ำตาลและโปรตีนเพราะแม่เป็นเบาหวานความดันไตวายระยะ3 จัดการยากจังค่ะแต่ได้ประโยชน์ทั้งบ้านเลยได้ลดตามแม่ไปด้วย
@ชุณพิมาณศานิกุล
ได้ความรู้ดีมากๆ เข้าใจง่าย ขอให้เจริญรุ่งเรืองสุขภาพแข็งแรงค่ะ
@aswwas3021
@aswwas3021 Год назад
ไม่จริงอะ ยายของเราอยู่บ้านนอกมาทั้งชีวิต กินแต่ผักผลไม้ เนื้อสัตวกินน้อยมากเพราะขี้เหนียวสุดๆ ผงชูรสก็ไม่กิน เครื่องเทศเช่นขมิ้นพริกไทยก็ไม่กิน พอเป็นอัลไซเมอร์ ชอบกินแต่ของหวานๆ เนื้อสัตวนี่ไม่กินอีกเลย
@orapinch.6241
@orapinch.6241 10 месяцев назад
คุณยายที่บ้านเหมือนกันค่ะ กินผักมาตลอดชีวิต เนื้อแทบไม่เคยกิน แต่ก็เป็นโรคนี้ค่ะ
@pramotechangmuang1979
@pramotechangmuang1979 2 года назад
คุณหมอครับ ขอบคุณสาระความรู้ด้านสุขภาพดีๆที่คุณหมอ นำมานำเสนอแบ่งปันครับ
@โอเคโมบาย-ธ2ข
บางครั้งจะเกิดอาการเจ็บจี๊ดๆขึ้นมาไม่ทราบว่าเเกิดจากในสมองหรือว่าบริเวณหนังศรีษะ(อาการเจ็บแทงขึ้นมาเป็นบางครั้ง)ไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไรครับ
@พิมพ์ใจนุชคง
สวัสดีค่ะคุณหมอ ขอบคุณข้อมูลดีๆๆนะคะ
@suchadaneelapat5055
@suchadaneelapat5055 2 года назад
อธิยายต้นเหตุอัลไซเมอร์ได้ดีมาก ทำให้เข้าใจสาเหตุของโรคมากขึ้นเลยค่ะ
@narisala
@narisala Год назад
สาธุค่ะคุณหมอ 🙏 อัลไซเมอร์เป็นโรคที่หนูกลัวที่สุด แต่เรื่องทานโปรตีน ตอนอายุมาก เราควรทานโปรตีนเยอะๆ เพื่อป้องกันการฝ่อสลายของกล้ามเนื้อ มีโปรตีนประเภทไหนที่จะทำให้เกิดอะไมลอยด์ได้น้อยบ้างไหมคะ ไข่ขาวทำให้เกิดอะไมลอยด์ได้น้อยไหมคะ เมื่อเทียบกับโปรตีนจากอาหารประเภทอื่น ไข่ขาวทำให้เกิดอะไมลอยด์ได้น้อยกว่าไหมคะ
@DoctorNearU
@DoctorNearU Год назад
protien จากเนื้อแดงครับ เป็นสาเหตุหลัก
@narisala
@narisala Год назад
@@DoctorNearU ขอบพระคุณค่ะคุณหมอ 🙏 😊 คุณหมอคะ ทำไมผู้หญิงถึงมีความเสี่ยงโรคอัลไซเมอร์สูงกว่าผู้ชายล่ะคะ
@somphongpluangnuch9925
@somphongpluangnuch9925 4 месяца назад
21:20
@nuteerarattanasuwan9709
@nuteerarattanasuwan9709 6 месяцев назад
ขอบคุณมากค่ะหมอ จะติดตามทุกสาระที่นำเสนอนะคะ
@DoctorNearU
@DoctorNearU 6 месяцев назад
ขอบพระคุณมากครับ
@pannylife
@pannylife 2 года назад
คุณหมออธิบายได้ชัดเจนคะ ขอบคุณสำหรับคลิปดีๆ ความรู้ใหม่ๆคะ 🙏😍
@chantrathaifood7438
@chantrathaifood7438 2 года назад
ติดตามมาตลอดค่ะ ชอบมากกกกค่ะอธิบายได้ดีและหน่ารักล้วนแล้วสาระสำคัญมากมายควรรู้และนำมาปัทติบัตรค่ะ
@นงเยาว์เจริญลาภ
ขอบคุณค่ะ
@เมตตาอาราอิ-ฟ8ษ
@เมตตาอาราอิ-ฟ8ษ 9 месяцев назад
ขอบคุณที่คุณหมอแนะนำคะ ทุกวันนี้ป่วยเป็นไมเกรนคะ
@DoctorNearU
@DoctorNearU 9 месяцев назад
ขอให้หายไวๆ ครับ
@pongpunyodsamut8860
@pongpunyodsamut8860 2 года назад
หมอครับ อยากฟังเรื่องฝีดาษลิง ว่าคนที่ปลูกฝีแล้ว ต้องระวังอีกมั้ย
@Grace_Apichaya
@Grace_Apichaya Год назад
เห็นแม่เพื่อนเป็นถึงขั้นช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เคี้ยวข้าวเองไม่ได้ เพื่อนบอกว่า..หมอบอกว่า สมองเค้าลืมว่า การเคียวข้าวทำยังไง ความรู้สึกคือ ตกใจไม่คิดว่าโรคนี้มันจะรุนแรงขนาดนี้ น่ากลัวมาก
@ชินารัตน์จิตรพริ้ง
ความรู้ฟังแล้วดีมากคะรู้ลึกและกลไกการเกิดอัลไซเมอร์ทำให้รู้วิธีป้องกันก่อนเป็นได้ จะนำความรู้นี้มาใช้กับตัวเองและบอกต่อให้คนรอบตัวและคนอื่นได้รู้ด้วย ขอบคุณมากๆคะคุณหมอ
@บุญญาพรอิ่มสมบัติ
ขอบคุณสำหรับข้อมูลเป็นประโยชน์ค่ะ
@applehuawei9612
@applehuawei9612 2 года назад
ขอบคุณครับ อาจารย์ ผมพึ่งเรียน patho บท CNS ฟังเข้าใจง่ายกว่า lecture ในห้องมากเลยคับ 🙏🙏🙏
@apinya7979
@apinya7979 2 года назад
อธิบายแบบรู้ลืกสรุปแบบเฃ้าใจง่ายปลื้มจนน้ำตาซืมเลยค่ะขอบคุณค่ะ
@patpatchannel4019
@patpatchannel4019 8 месяцев назад
ขอบคุณมากค่ะ...คุณแม่ดิฉันป่วยโรคนี้ ท่านเสียชีวิตแล้ว...วีดีโอนี้เป็นประโยชน์มากค่ะ แชร์แล้ว..คุณหมอช่วยทำวีดีโอ เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยด้วยค่ะ...เพราะมีปัญหามากๆ ถ้าคนดูแลไม่เข้าใจ อาการโรค..ดิฉันเจอปัญหานี้มาแล้ว...ขอบคุณค่ะ🙏🏻👍👍❤️
@DoctorNearU
@DoctorNearU 8 месяцев назад
ได้ครับ
@Rmae-youtube
@Rmae-youtube 2 года назад
ที่คุณหมอพูดมาตอนต้นๆทั้งหมด ได้เกิดขึ้นกับคุณแม่เมื่อประมาณ4ปีที่แล้ว คุณแม่เริ่มมีอาการก้าวร้าว จนสังเกตุว่าไม่ใช่ละ แม่เป็นคนใจเย็น ไม่หยาบคาย กว่าจะพาแม่ไปรับการรักษาได้ต้องหว่านล้อมแต่ก็ไม่ได้ผล จนต้องให้1669ไปรับ ยอมรับช่วงนั้นตัวเองกับพี่สาวแทบไม่ได้พักผ่อน คุณหมอบอกสมองคุณแม่เสื่อม และได้ปรับยาจนคุณแม่ดีขึ้นแต่คุณหมอสั่งห้ามหยุดยาค่ะ ต้องกินยาตลอดชีวิต
@earn1688
@earn1688 Год назад
พบหมอด้านไหนคะ
@Rmae-youtube
@Rmae-youtube Год назад
@@earn1688 จิตเวชค่ะ
@SUPARADA-jj6qd
@SUPARADA-jj6qd 2 года назад
รบกวนสอบถามคุณหมอเรื่องโรคฝีดาษลิงค่ะ มีโอกาสจะเข้ามาในบ้านเราไหมคะ การป้องกันการรักษาเป็นอย่างไร เห็นในข่าวแล้วน่ากลัวอยากทราบข้อมูลเพิ่มเติมค่ะ
@sujinsamolta8458
@sujinsamolta8458 Год назад
สวัสดีค่ะคุณหมอ เพิ่งติดตาม และดูย้อนหลังค่ะ กลัวเป็นอยู่ค่ะ เพราะตอนนี้ก็หลงลืมบ้างแล้ว ขอบคุณข้อมูลดีๆค่ะ
@DoctorNearU
@DoctorNearU Год назад
ยินดีครับ
@gihhhfyigh2319
@gihhhfyigh2319 Год назад
เคยเห็นหมู่บ้านคนอายฺุเกินร้อยลูกหลานนำไปรวมกันไว้เป็นความลับภายในหมู่บ้านจะมีอะไรคล้ายๆกันคือแข็งแรงมากเดินเหินคล่องแคล่วดวงตาแจ่มใสคล้ายเด็กหูดีรูปร่างกล้ามเนื้อเหมือนวัย๔๐ถึง๕๐ปีแต่ความจำไม่ดี ใส่เสื้อผ้ากลับหน้ากลับหลังพูดคุยไม่ค่อยรู้เรื่องเฉพาะปู่ของเพื่อนผมก็อายุ๑๐๕ปีแล้วถ้าปัจจุบันยังอยู่ก็จะ๑๓๕ปี
@kanokwandarham7956
@kanokwandarham7956 Год назад
ตอนนี้แฟนเป็นคนต่างชาติค่ะแกเป็นอัลไซเมอร์แต่เขาจะจําลูกเขาได้แต่เขาจําชื่อเมียไม่ได้ค่ะ
@komsonchokdee535
@komsonchokdee535 Год назад
ผู้สูงอายุจะเสียมวลล้ามเนื้อลดลงเรื่อยๆ การลดการกินโปรตีนลง จะลดควความเสี่ยงอัลไซเมอร์ แล้วจะไม่เพิ่มความเสี่ยงโรคกล้ามเนื้อฝ่อหรือครับคุณหมอ
@yupacnx085
@yupacnx085 9 месяцев назад
ขอบคุณคุณหมอมากๆสำหรับความรู้เรื่อง อัลไซเมอร์ ค่ะ เข้าใจง่ายมากเลยค่ะ
@mwch553
@mwch553 2 года назад
ขอบคุณค่ะคุณหมอกับคลิปที่ดีๆค่ะ🙏
@angvorajak8442
@angvorajak8442 Год назад
ถ้าจัดเป็นชนิดที่3, คงต้องแก้ไขโดยกินคาร์บต่ำและทำไอเอฟ, มีข้อมูลมั้ยพี่หมอว่าคนที่เป็นโรคนี้มักมีคอเลสเตอรอล​ต่ำใช่มั้ย
@พรรณีพร้อมลาภ
ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ ขออนุญาตแชร์นะคะ ขอให้คุณหมอ สุขภาพดีสมหวังในสิ่งดีๆนะคะ
@chaaimmocha2000
@chaaimmocha2000 2 года назад
ขอบคุณค่ะ 😅กลัวเป็นอยู่เหมือนกันค่ะ
@panther5603
@panther5603 2 года назад
คุณหมออธิบายเก่งจังค่ะ เข้าใจง่าย
@TheLungNuad
@TheLungNuad 2 года назад
ส่วนตัวครึ่งคนแระ แต่เริ่มมีอาการเบื้องต้นแล้วผมว่า เพราะสังเกตตัวเองสมองเริ่มฝ่อ... เพราะรู้สึก จะทำงานอันนี้นะ แต่ไม่ถึงนาที จะไปทำอะไรต่อแล้ว....??? เริ่มเป็นบ่อยแล้ว
@mudsohiran9601
@mudsohiran9601 2 года назад
ขอบคุนนะคะคุนหมอ อธิบายได้เข้าใจง่ายภาษาชาวบ้านดีคะ ติดตามอยู่นะึะ
@decha2516
@decha2516 7 месяцев назад
อยากให้ช่วยแนะนำเรื่องโรค Parkinson หน่อยครับ
@user-mogul
@user-mogul 2 года назад
ขอบคุณคุณหมอมากครับ วิทยาทาน ได้ความรู้มีประโยชน์มากเลยครับ
@PSKBell
@PSKBell 2 года назад
เข้ามาดูเพราะกลัวปู่ย่าเป็นเลยค่ะ ขอบคุณคุณหมอมากๆนะคะ อธิบายดีมากๆเลยค่ะ
@Chaweewan8769
@Chaweewan8769 Год назад
ขอบพระคุณมากค่ะคุณหมอสำหรับความรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์และวิธีป้องกันเรื่องอาหารโดยลดการทานโปรตีน ทานผักให้มากขึ้นมีประโยชน์ต่อบุคคลทั่วไปอนุโมทนาบุญค่ะ
@อนันต์สิรานนฺโท
ด้วยเคารพยิ่ง ให้ความรู้ทางหมอพอรัก ษาร่าง เป็นหนทางดูแลใจไม่ให้ เหงาหงอย คนเกิดมามีโรคมีภัยใหญ่ ไม่น้อย คอยผู้รู้ชีทางบอกออกทาง แก้ไม่ แพ้ทาง ด้วยรักและเคารพ สาธุ เจริญพร
@DoctorNearU
@DoctorNearU Год назад
ขอบพระคุณมากครับ ,❤️😊🙏
@สุชีรา-จ3บ
@สุชีรา-จ3บ Год назад
กินปลา ก็กลัวจะได้พลาสติกในปลาเป็นของแถม ข้าวโอ๊ตมีปลูกขายในไทยหรือเปล่าเอ่ย เงินคนชราไม่พอซื้ออาหารนอกกินค่ะ
@จุฑาภรณ์ณพัทลุง-ฅ3ณ
คุณหมอ เรียนเก่งมากเเละ ความจำดีสุดๆ อธิบายพยาธิ โรค 🧠 ละเอียดมาก เลย ใช้ภาษาชาวบ้าน เข้าใจ ง้ายๆ !!😂❤ 💖 ...ขอบคุณมากๆค่ะ
@thanittha04
@thanittha04 Год назад
ขอบพระคุณค่ะอจ.ได้ความรู้เยอะเลยค่ะ❤
@ฉันทนาจิตต์สง่า
เป็นคลิปที่มีสาระความรู้และมีประโยชน์ต่อประชาชนเป็นอย่างมากค่ะ ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ ฟังเสียงคุณหมอเเล้วจิตใจร่มเย็นเป็นสุขมากค่ะ
@ta109
@ta109 Год назад
คุณหมอโภชนาให้กินเนื้อสัตว์วันละ1ฝ่ามือ เพื่อเสริมสร้างอวัยวะที่สึกหรอ
@นายพัลลภแสงหมอก
อยากให้คุณหมอให้ความรู้เกี่ยวกับโรคตับอ่อนอักเสพและวิธีการรักษาครับ
@jinhuo_78
@jinhuo_78 Год назад
บางทีธรรมชาติเค้าสร้างโรคมามันคงมีเหตุผลของมัน เค้าอาจต้องการให้เราจากโรคนี้ไปอย่างสงบ ไม่เจ็บปวด ไม่ทุกข์ทรมาน
@WaravuzAckraseranee
@WaravuzAckraseranee 2 года назад
ผมอ่านหนังสือเรื่อง 33 วิธีปฏิบัติร่างกาย เพื่อป้องกันอัลไซเมอร์แล้ว สรุปว่า เราไม่สามารถลดการเกิดโปรตีนพอกเซลสมองได้ จากการลดการกินโปรตีนนะครับ แต่ต้องไปป้องกันไม่ทำการใดๆ ที่ไปกระตุ้นสมองให้มันเกิดการป้องกันตัวเองครับ ได้แก่ อย่าเป็นเบาหวาน โรคอ้วน ความดัน โรคซึมเศร้า และ สูบบุหรี่ ทำแค่นี้พอครับ
@WaravuzAckraseranee
@WaravuzAckraseranee 2 года назад
ส่วนทางกายภาพ ก็ป้องกันอย่าให้สมองได้รับการกระทบกระเทือน จนเกิดการอักเสบบ่อยๆ และเมื่อเป็นแล้ว สมองจะดูดซึมกลูโคสที่เป็นอาหารหลักไม่ได้ ทำให้สมองฝ่อ แต่ยังดูดซึม คีโตนบอดี้ส์ จากการย่อยน้ำมันมะพร้าวได้ครับ ก็คือ ถ้าเป็นแล้ว ให้ทานน้ำมันมะพร้าวชะลอไม่ให้สมองฝ่อเร็วได้ครับ
@DoctorNearU
@DoctorNearU 2 года назад
ขอบคุณครับ ที่ แบ่งปันความรู้มาเล่าสู่กันฟัง 🙏
@kanokwandarham7956
@kanokwandarham7956 Год назад
เวลาอาบนําให้เปลี่ยนเสื้อผ้าให้บางครั้งก็อาละวาดจะเตะจะต่อย
@MustKnowStory
@MustKnowStory 2 года назад
เยี่ยมเลยค่ะ งั้นที่เขามีเล่นเกมส์กระตุ้นสมองกันสมองเสื่อม คงใช้ไม่ได้กับกรณีอัลไซเม่อร์
@suthonlimchawalit9257
@suthonlimchawalit9257 Год назад
มีประโยชน์มากครับ ขอบคุณครับ
@ภาคินวัฒนะชัยกุล
อธิบายได้เข้าใจง่ายครับ ❤
@mongkhongsukumarpan4443
@mongkhongsukumarpan4443 2 года назад
ขอบคุณมากครับคุณหมอที่แบ่งปันความรู้สาระเพื่อสุภาพชื่นชมครับ
@aompimsawang4421
@aompimsawang4421 Год назад
ขอบคุณคุณหมอมากๆค่ะ..ได้คว่มรู้ทุกคลิปเลยค่ะ❤😂❤❤❤❤❤
@siriuszone
@siriuszone Год назад
ถ้ามียีนส์ผิดปกติ (ตัวสร้าง ตัวจัดการ..) กินอะไรบำรุงแค่ใหนก็....
@mossimoj8663
@mossimoj8663 2 года назад
ขอบคุณมากครับคุณหมอ ได้ความรู้เยอะมากเลย จะได้ไปปรับตัวได้ถูกฮะ
@kittipongmaneethip6223
@kittipongmaneethip6223 29 дней назад
หมอครับเขาว่าดูหนังโป๊บ่อยๆ ความจำเสื่อมจริงรึป่าวครับ😅😅😅 ผมถามเฉยๆนะครับ
@kampolbuasree3937
@kampolbuasree3937 2 года назад
ผมคิดว่าทุกอย่างมันเป็น Holistic ครับ คงไม่มี This one is the best.. มันขึ้นกับหลายอย่าง.. ความคิดเห็น​ส่วนตัว​ผม​ครับ​
@tipwaleenaiyanate280
@tipwaleenaiyanate280 2 года назад
ขอบคุณมากค่ะ คุณหมอ คุณหมออธิบายได้ละเอียดดีมากค่ะ
@areeratasudhasirikul952
@areeratasudhasirikul952 10 месяцев назад
ฟ้งครรรรรรรรรรรรรั้งที่สองงหรือมากกว่า เป็นแป๊ปเดียวหาย น่ากลัวไหม
@AABB-rh8dk
@AABB-rh8dk 6 месяцев назад
เรื่องอัลไซเมอร์นี้ฟังมาหลายๆคลิปแต่ก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ..พอมาฟังคุณหมออธิบายรู้สึกว่าเข้าใจมากขึ้นว่าโรคนี้มันมาจากสาเหตุใดและเราจะปฏิบัติตัวอย่างไรเพื่อป้องกันหรือชะลอโรค..ขอบคุณค่ะ🙏 *เป็นคลิปไม่ยาวแต่ได้ใจความชัดเจนดีมาก!
@DoctorNearU
@DoctorNearU 6 месяцев назад
ขอบพระคุณมากครับ
@TanaooonSomsoon
@TanaooonSomsoon 11 месяцев назад
ขอขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆค่ะ❤
@tongtong4482
@tongtong4482 2 года назад
ขอบคุณมากค่ะฟังแล้วได้ความรู้จะได้ป้องกันไว้ค่ะ
@jjbkk3998
@jjbkk3998 2 года назад
คุณหมอคะ ขออนุญาตสอบถามหน่อยค่ะ ที่ควรลดการทานโปรตีน หากเป็นโปรตีนจากพืช 100% (Plant protien ผงชงกับน้ำเปล่า) สามารถทานได้ปกติไหมคะ หรือควรลดเช่นเดียวกันคะ ขอบคุณมากค่ะ 🙏
@DoctorNearU
@DoctorNearU 2 года назад
ทาน protein จากพืชได้ครับ เพราะตามหลัก ของ MIND diet ก็พยายามเปลี่ยนโปรตีนจากสัตว์ให้เป็นโปรตีนจากธัญพืช...โดยให้กินถั่วทดแทน
@jjbkk3998
@jjbkk3998 2 года назад
@@DoctorNearU ขอบคุณมากค่ะคุณหมอ
@Tanashit11
@Tanashit11 9 месяцев назад
สวัสดีค่ะ คุณหมอ อยากรบกวนให้คุณหมอ share เกี่ยวกับ carnivor diet ค่ะ ข้อดี/ข้อเสีย ด้วยค่ะ คือแฟนทานเนื้อ ไข่ เบคอน ไขมันค่อนข้างเยอะ เพื่อลดน้ำหนักค่ะ ไม่ทานผัก เครื่องปรุงที่ใช้คือเกลือ อย่างเดียวค่ะ ลดได้จริงยี่สิบกว่าโลค่ะ แต่ดิฉันเองกังวลมากเรื่องค่าไขมันสูงปริ้ดค่ะ แต่ค่า ไตรกลีซาลีน ระดับกลางหรืออยู่ในเกณห์ดีค่ะ ขอบพระคุณล่วงหน้าค่ะ
@DoctorNearU
@DoctorNearU 9 месяцев назад
ข้อเสียมันเยอะกว่า ข้อดี ..คุณหมอคนคิดสูตรนี้ ตายไปแล้ว..ก่อนตายเป็น Alzheimer's ด้วย ../// สาวกก็เลยเลิกทานครับ // เป็น สูตร diet โบราณ ..))) อย่างไรก็ตามมันลดน้ำหนักได้จริงเพราะคนไข้ไม่กินแป้งเลย../// ...ดังนั้นเมื่อลดน้ำหนักได้ตามต้องการแล้ว..ก็เปลี่ยนชุดทหารมาทานคีโตหรือ if ก็ได้
@RJ-ki2kh
@RJ-ki2kh 2 года назад
ขอขอบคุณสำหรับ ข้อมูลความรู้ค่ะ
Далее